พระรัตนตรัยเป็นเยี่ยม
บุญอันเลิศ คือ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุขและกำลัง ย่อมเจริญแก่บุคคลผู้รู้แจ้งธรรมอันเลิศ เลื่อมใสในสิ่งที่เลิศ คือเลื่อมใสในพระพุทธเจ้าผู้เลิศ ผู้เป็นทักขิไณยบุคคลอันเยี่ยม เลื่อมใสในพระธรรมที่เลิศอันปราศจากราคะ เป็นที่เข้าไปสงบระงับและเป็นสุข เลื่อมใสในพระสงฆ์ผู้เลิศ เป็นนาบุญชั้นเยี่ยม ให้ทานในท่านผู้เลิศ ผู้มีปัญญาตั้งมั่นแล้วในธรรมอันเลิศ ให้ทานแก่ท่านผู้เป็นบุญเขตอันเลิศ จะเกิดเป็นเทวดาหรือมนุษย์ ย่อมเข้าถึงสถานที่อันเลิศ บันเทิงใจอยู่
อานุภาพพระรัตนตรัย
พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐ ทรงรู้ธรรมอันประเสริฐ ประทานธรรมอันประเสริฐ เป็นผู้นำมาซึ่งพระธรรมอันประเสริฐ ไม่มีใครยิ่งกว่า ได้ทรงแสดงธรรมอันประเสริฐ รัตนะแม้นี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจ้า ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสุขสวัสดี จงบังเกิดมีเถิด
มหาเศรษฐีกากวฬิยะ
ภิกษุทั้งหลาย บาปกรรมแม้ประมาณน้อยที่บุคคลบางคนทำแล้ว บาปกรรมนั้น ย่อมนำเขาไปนรกได้ บาปกรรมประมาณน้อยอย่างเดียวกันนั้น บางคนทำแล้ว กรรมนั้นเป็นทิฏฐธรรมเวทนียกรรมที่ให้ผลในภพปัจจุบัน
สรุปประเด็นร.ร.อนุบาลฯ วันพุธที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2557
สรุปประเด็นร.ร.อนุบาลฯ วันพุธที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2557 บุพกรรมแหวนสวรรค์ - วันที่ 22 เมษายน 2557 วันคุ้มครองโลก - เล่าเรื่องคุณยาย ตอน หนึ่งเอมในวันนั้น ทำให้รวยเหลือเชื่อในวันนี้ - พระครูสมุห์ณรงค์ ทันตจิตโต
เมณฑกเศรษฐีผู้ใจบุญ (๕)
ถ้าหากว่าสรรพสัตว์พึงรู้ผลแห่งการจำแนกทาน เหมือนอย่างที่พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ตรัสแล้ว รู้โดยวิธีที่ผลนั้น เป็นผลใหญ่ไซร้ สัตว์ทั้งหลายพึงกำจัดความตระหนี่อันเป็นมลทินเสีย มีใจผ่องใส พึงให้ทานที่ให้แล้วมีผลมาก
คนพม่าเดินถอดรองเท้าเข้าไปสักการะพระเจดีย์ชเวดากอง มีอานิสงส์อย่างไรบ้างค่ะ
คำถาม : คนพม่าเดินถอดรองเท้าเข้าไปสักการะพระเจดีย์ชเวดากอง มีอานิสงส์อย่างไรบ้างค่ะ
วันพระ หรือ วันธรรมสวนะ หรือ วันอุโบสถ
วันพระ หรือ วันธรรมสวนะ หรือ วันอุโบสถ หมายถึง วันประชุมของพุทธศาสนิกชนเพื่อปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาในพระพุทธศาสนาประจำสัปดาห์
ธุดงค์ คือ อะไร
ธุดงค์ คืออะไร หลังออกพรรษาก็ถึงคราที่พระภิกษุสงฆ์จะเที่ยวจาริกไปในที่ต่างๆ เพื่อหาสถานที่อันสัปปายะ เพื่อเจริญสมณธรรม รวมทั้งเผยแผ่ธรรม ซึ่งเรามักจะได้ยินว่าออก ‘ธุดงค์’
การเดินธุดงค์ของพระมีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร
การเดินธุดงค์ของพระมีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร แล้วเดินแค่ไหนถึงจะหยุด เดินในป่า หรือเดินในเมืองถึงจะเรียกว่าถูกต้องตามพระวินัย
เขมาเถรี อัครสาวิกาเบื้องขวา
เราเรียกผู้ไม่เยื่อใยในกามทั้งหลายเหล่านั้นว่า เป็นผู้สงบ เพราะไม่มีกิเลสเป็นเครื่องร้อยรัด จึงข้ามพ้นตัณหาไปได้