โครงการสอนอักษรจารึกพระไตรปิฎก รุ่น1
โครงการพระไตรปิฎก สถาบันธรรมชัย ได้รวบรวมคัมภีร์พระไตรปิฎกใบลานฉบับภาษาบาลีที่จารึกด้วยอักษรต่างๆ ขณะนี้ทางโครงการได้เปิดการเรียนการสอนสำหรับผู้สนใจเกี่ยวกับคัมภีร์พระไตรปิฎกเพื่อเป็นปัญญาบารมีและยังได้เรียนรู้พระไตรปิฎกใบลาน ฉบับต่างๆในโลก ท่านสามารถร่วมเป็นอาสาสมัครในการตรวจเทียบพระไตรปิฎกฉบับ ต่างๆในโลกของโครงการได้ตั้งแต่บัดนี้
ใบลานเถรวาทจารพระศาสน์สืบสายคัมภีร์
เถรวาท เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในพระพุทธศาสนา โดยศัพท์แปลว่า “ตามวาทะของพระเถระ” ซึ่งหมายถึงพระอรหันต์ขีณาสพ ๕๐๐ รูป ผู้ทำปฐมสังคายนา ณ ถ้ำสัตบรรณคูหา หลังพุทธปรินิพพาน ๓ เดือน เป็นนิกายหลักที่นับถือในประเทศศรีลังกา และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใ
รักษ์ศาสน์ วาดศิลป์ แผ่นดินสยาม
บรรพชนชาวสยามน้อมรับเอาพระพุทธศาสนามานับถือและรักษาไว้ ไม่ว่าจะเปลี่ยนผ่าน มากี่ยุคสมัย ผ่านมากี่แผ่นดิน อาณาประชาราษฎร์ล้วนอยู่ร่วมกันอย่างร่มเย็นเป็นสุขภายใต้ พระบรมโพธิสมภารแห่งพระมหากษัตริย์ ผู้ทรงเป็น “ธรรมราชา” องค์เอกอัครศาสนูปถัมภก ปกครองแผ่นดินโดยธรรมตามหลักพระธรรมคำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
สืบทอดพุทธธรรม...จากพุทธกาลสู่โลกปัจจุบัน
คัมภีร์พระไตรปิฎกอักษรบาลีถือเป็นข้อมูลชั้นปฐมภูมิที่สืบทอดคำสอนเป็นลายลักษณ์อักษรโดยมีมาตั้งแต่ราว ๆ พ.ศ. ๔๐๐ เศษ ณ ประเทศศรีลังกา และถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนในยุคต่อมา ที่สร้างคัมภีร์ใบลานด้วยความเคารพศรัทธา เพื่อเผยแผ่หรือทดแทนของเดิมที่สูญหายหรือถูกทำลาย
ปุราณอักษรา
เส้นจารเนื้อความพระไตรปิฎกบนแผ่นลานนอกจากจะเป็นหลักฐานแสดงการสืบทอดพุทธธรรมแล้วยังเป็นหลักฐานบ่งบอกถึงวิวัฒนาการอักษรโบราณบนแผ่นดินไทยอีกด้วย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๐)
แนวการสอนและการปฏิบัติของพระเดชพระคุณหลวงปู่เป็นไปตามแบบของโบราณาจารย์ ซึ่งสงเคราะห์ลงได้ในหลักกายคตาสติกรรมฐานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงวางแบบไว้
พระไตรปิฎกมรดก ๙ แผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ทรงสถาปนา “กรุงเทพมหานคร” เป็นเมืองหลวงของราชธานี จวบจนปัจจุบันนับเป็นเวลา ๒๐๐ กว่าปี ที่ปวงชนชาวไทยอยู่เย็นเป็นสุขภายใต้พระบรมโพธิสมภารของสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าผู้ครองแผ่นดินทั้ง ๙ พระองค์...
ย้อนรอยกาลตามรอยธรรมแห่งพระพุทธโฆษาจารย์
รอยจารึกอักษรโบราณอายุหลายร้อยปีที่ปรากฏบนแผ่นลานนั้น มีความหมายและทรงคุณค่าต่อการศึกษาเชิงประวัติศาสตร์แห่งการสืบทอดคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผ่านการจดจำและจดจารจากจุดเริ่มต้น ณ ดินแดนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาล
วิถีใบลาน แห่งน่านนคร
“น่าน” จังหวัดเล็ก ๆ ทางภาคเหนือของไทย ทรงคุณค่าเนื่องด้วยเป็นแหล่งคัมภีร์ใบลานอักษรธรรมจำนวนมาก เมื่อย้อนประวัติศาสตร์ไปตั้งแต่ยุคสร้างเมืองในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ทำให้พบว่า...
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๖)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนได้นำเสนอผลงานวิจัยการค้นพบ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณที่ประเทศไทย ฉบับก่อนหน้านั้น ผู้เขียนมีความเชื่อมั่นว่า ท่านผู้อ่านที่ติดตามเรื่องราวมาตลอด และผู้ใคร่ต่อการศึกษา นักวิชาการเมื่อได้อ่านบทความและรับทราบถึงข้อมูลที่สมบูรณ์ด้วยเหตุผลพร้อมหลักฐานที่นำเสนอแล้วนั้น