อานิสงส์ของการทำจิตผ่องใส
เมื่อจิตไม่เศร้าหมอง สุคติเป็นที่ไป เมื่อจิตเศร้าหมอง ทุคติเป็นที่ไป
นรกของคนที่ชอบชนไก่ สูบบุหรี่ ดื่มสุรา
บาปอกุศลที่ได้เคยทำเอาไว้ในสมัยที่ยังมีชีวิต เช่น บาปที่ชอบเล่นพนันชนไก่ เป็นต้น ได้ช่องและชิงช่วงมาส่งผลก่อนผลแห่งวิบากกรรมจากการเล่นพนันชนไก่
เหตุใดคุณแม่จึงมีคู่แข่งทางการค้าตลอดและจะแก้ไขได้อย่างไร
คุณแม่เปิดร้านขายของชำ มีความเป็นอยู่ดีขึ้น แต่คุณแม่ก็ไม่ค่อยชอบไปไหนอ้างว่าเป็นห่วงร้าน กลัวเสียลูกค้าให้คู่แข่งที่เปิดร้านใกล้ๆ กัน และที่น่าแปลกใจก็คือ คุณแม่มักจะมีคู่แข่งทางการค้าตลอดมา
เจ้าหน้าที่ในยมโลกหน้าตาเป็นอย่างไร
เจ้าหน้าที่ในยมโลก ไม่ใช่นายนิรยบาลที่เกิดด้วยอำนาจบาปของสัตว์นรกเหมือนอย่างในมหานรกและอุสสทนรก เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่เป็นกุมภัณฑ์ คือ ยักษ์ชนิดหนึ่ง อยู่บนสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกา อยู่ในความดูแลของท้าวธตรฐ เป็นอดีตมนุษย์ที่มีนิสัยมักโกรธ แต่ก็ทำบุญด้วย เจ้าหน้าที่พวกนี้จะหมุนเวียนกันมาทำหน้าที่เป็นช่วงๆ มีตั้งแต่ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน หรือ 12 เดือน ในยมโลก ซึ่งก็แล้วแต่บาปที่ตนกระทำไว้ เจ้าหน้าที่ในยมโลกมีหลักๆ ดังนี้
การเดินทางหลังความตาย
ในช่วงก่อนที่มนุษย์จะหลับตาลาโลก กายมนุษย์ละเอียดจะถอดออกจากกายมนุษย์หยาบ เป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของชีวิต เพราะเป็นการเลือกเส้นทางของชีวิตใหม่ และเป็นการสรุปความสำเร็จของการเกิดมาในชาตินี้ว่า ประสบความสำเร็จหรือไม่ เป็นศึกชิงภพครั้งยิ่งใหญ่
สามีของลูกชอบยิงนกตกปลาเขาจะได้รับผลกรรมอย่างไรคะ
สามีของลูกมีนิสัยค่อนข้างเอาแต่ใจตัวเอง และชอบยิงนกตกปลาตั้งแต่เด็กๆ ปัจจุบันก็ยังตกปลาอยู่ แต่น้อยลงแล้ว เขาให้เหตุผลว่า เป็นการคลายเครียด ขณะเดียวกันก็เข้าวัดทำบุญด้วย
รหัสผ่านเดินทางสู่ปรโลก
ทุกการกระทำของคนเราไม่ว่าจะเป็นทางกาย ทางวาจา ทางใจ ล้วนมีผลต่อความคิด คำพูด และการกระทำทั้งสิ้น เพราะการกระทำนั้นจะถูกเก็บบันทึกไว้ด้วยเครื่องบันทึกภาพที่ดีที่สุดในโลก มีความจุที่ไม่มีประมาณ คือ ใจของเรานั่นเอง
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๑)
ช่วงชีวิตของคนเรานั้นสั้นนัก การยอมเสียเวลาเพื่อลงทุนทำอะไรสักอย่างหนึ่ง จะต้องใคร่ครวญให้ดี เพื่อให้คุ้มค่ากับเวลาและเงินตราที่เสียไป
ยอดนักสร้างบารมี ตายด้วยโรคไข้หวัดกลายพันธุ์ กลับดุสิตบุรี
เขาสร้างบารมีอย่างเอาชีวิตเป็นเดิมพัน ในการชวนชายผู้มีบุญมาบวช
การสร้างบารมีแบบเอาชีวิตเป็นเดิมพัน
พระธรรมเทศนา โดย พระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อทัตตชีโว) รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย