มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - หยุดใจเพื่อให้เป็นไทจากอารมณ์
พระราชาเห็นว่า การเข้าหาสมณะผู้สงบและรับฟังธรรมะจากท่าน คงจะทำให้ใจสงบขึ้นมาได้ จึงเสด็จพระราชดำเนินไปอารามที่พระนารทเถระจำพรรษาอยู่ พระเถระได้แสดงธรรมให้พระเจ้ามุณฑะว่า "ขอถวายพระพรมหาบพิตร ในโลกนี้มีฐานะอยู่ ๕ประการ ที่สมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใครๆในโลกไม่พึงได้ ฐานะ ๕อย่างนั้นคือ
ธรรมะเพื่อประชาชนมงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - เผชิญหน้าพญามัจจุราช
พระเถระได้อนุโมทนาในกุศลจิตของพระกุมาร แต่เมื่อตรวจดูอายุสังขารของพระกุมารแล้ว ได้บอกว่า พระกุมารจะมีชีวิตอยู่เพียง ๕เดือนเท่านั้น แม้ได้ทราบความนั้น พระราชกุมารก็ไม่ท้อใจ เพราะเข้าใจดีว่า คงเป็นกรรมในอดีตตามมาส่งผล ก็ไม่ได้หวาดหวั่นพรั่นพรึงอะไร จึงถามพระเถระถึงวิธีการที่จะหลุดพ้นจากความตาย
ธรรมะเพื่อประชาชนมงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - ผู้มีปัญญาย่อมไม่โศก
วันหนึ่ง พระโพธิสัตว์กับพราหมณ์ผู้เป็นพ่อ ได้ออกไปไถนาตั้งแต่เช้าตรู่ พ่อก็ไถนาไป ส่วนท่านกำลังเผาหญ้าอยู่ งูเห่าตัวหนึ่งได้เลื้อยออกมาจากโพรงไม้ เพราะกลัวถูกไฟเผา ด้วยความโกรธจึงกัดท่านทันที เมื่อรู้ว่าถูกงูพิษกัด ท่านจึงเรียกพ่อให้มาช่วย พ่อได้วิ่งมาดู แต่ไม่รู้ว่าจะช่วยอย่างไร
ธรรมะเพื่อประชาชนไม่มีอะไรจะโศกา, ไม่ได้มาง้อ...แต่มาขอล่ำลา
นับตั้งแต่เด็กจนโต เขามีปัญหาคาใจที่ชวนสงสัย ในเรื่องของกฎแห่งกรรม กล่าวคือ ตัวเขาเองมักจะประสบกับอุบุติเหตุอยู่เสมอๆ ทั้งที่เป็นเรื่องเล็กๆน้อยๆ จนถึงเรื่องใหญ่ๆจนทำให้เกือบจะเอาชีวิตไม่รอด...เคยโดนวัวเตะจนสลบ เคยถูกไฟฟ้าดูดจนหยุดหายใจไป 7นาที บ้านเคยถูกไฟไหม้ ทรัพย์สินที่มีอยู่หายไปในชั่วพริบตา...อะไร คือสาเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุต่างๆดังกล่าวกับเขา เป็นเหตุสุดวิสัย หรืออะไรกันแน่...ที่นี่...มีคำตอบ
กรณีศึกษากฎแห่งกรรมไม่มีอะไรจะโศกา, ไม่ได้มาง้อ...แต่มาขอล่ำลา
นับตั้งแต่เด็กจนโต เขามีปัญหาคาใจที่ชวนสงสัย ในเรื่องของกฎแห่งกรรม กล่าวคือ ตัวเขาเองมักจะประสบกับอุบุติเหตุอยู่เสมอๆ ทั้งที่เป็นเรื่องเล็กๆน้อยๆ จนถึงเรื่องใหญ่ๆจนทำให้เกือบจะเอาชีวิตไม่รอด...เคยโดนวัวเตะจนสลบ เคยถูกไฟฟ้าดูดจนหยุดหายใจไป 7นาที บ้านเคยถูกไฟไหม้ ทรัพย์สินที่มีอยู่หายไปในชั่วพริบตา...อะไร คือสาเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุต่างๆดังกล่าวกับเขา เป็นเหตุสุดวิสัย หรืออะไรกันแน่...ที่นี่...มีคำตอบ
กรณีศึกษากฎแห่งกรรมมกุฏพันธนเจดีย์
มกุฏพันธนเจดีย์ เป็นเจดีย์สร้างขึ้นในรัชสมัย พระเจ้าอโศกมหาราช ตรงบริเวณที่ถวายพระเพลิงพระพุทธ สรีระของพระพุทธเจ้าใน วันอัฏฐมีบูชา...
ความรู้รอบตัวอนิจจังไม่เที่ยง
คำถาม : มีคุณโยมท่านหนึ่งถามมาว่าคนไทยชอบใช้คำว่าอนิจจังไม่เที่ยง เพื่อปลอบใจให้คลายทุกข์โศกพอสบายใจแล้วก็ปล่อยปะละเลยไม่กระตือรือร้น ควรจะแก้ไขอย่างไรดีคะ
ธรรมะสอนใจเมื่อบัณฑิตกำจัดความประมาทด้วยความไม่ประมาท
เมื่อใดบัณฑิตกำจัดความประมาทด้วยความไม่ประมาท เมื่อนั้นเขานับว่าได้ขึ้นสู่ "ปราสาทคือปัญญา" ไร้ความเศร้าโศก สามารถมองเห็นประชาชน ผู้โง่เขลา
ธรรมะกับพระบาลีคนทำชั่วย่อมเศร้าในโลกนี้และโลกหน้า
คนทำชั่วย่อมเศร้าโศกในโลกนี้ คนทำชั่วย่อมเศร้าโศกในโลกหน้า คนทำชั่วย่อมเศร้าโศกในโลกทั้งสอง คนทำชั่วย่อมเศร้าโศกเดือดร้อนยิ่งนัก เมื่อมองเห็นแต่กรรมชั่วของตน
ธรรมะกับพระบาลีปราสาทคือปัญญา
ความประมาทนั้นสามารถบรรเทาได้ด้วยความไม่ประมาท คือค่อยๆ ถ่ายถอนความประมาทออกทีละน้อย แล้วเพิ่มพูนความไม่ประมาทเข้าไปแทนที่ เหมือนถ่ายเทน้ำเก่าอันขุ่นออกแล้วใส่น้ำใหม่ที่ใสสะอาดเข้าไป พยายามรักษาความไม่ประมาทที่ทำได้แล้วมิให้เสื่อมลงไปอีก กีดกันความประมาทที่ห่างไปแล้วมิให้เข้ามาอีก ดวงใจที่ห่างจากความประมาท อยู่ด้วยความไม่ประมาท มีสติระวังรอบคอบ ย่อมก่อให้เกิดปัญญา ปัญญานั้นว่องไว คล่องแคล่ว ปัญญานั้นสูงส่งดุจปราสาท กล่าวคือ ทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ สามารถเห็นสัตว์ทั้งหลายผู้เคลื่อนจากภพอยู่ (จุติ) และเกิดอยู่ (ปฏิสนธิ) เหมือนคนยืนอยู่บนปราสาท มองลงมาเห็นคนยืนอยู่เบื้องล่างรอบๆ ปราสาท อนึ่ง เมื่อคนทั้งหลายเศร้าโศกอยู่ เพราะพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รักบ้าง เพราะพบกับความเสื่อมจากญาติจากโภคะบ้าง เพราะประจวบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รักบ้าง บัณฑิตย่อมไม่เศร้าโศก เพราะได้มองเห็นความจริงเสียแล้ว มองเห็นความสุขและความทุกข์อย่างโลกๆ โดยความเป็นของเสมอกันคือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และไม่มีตัวตน มีแต่กระแสอันไหลเชี่ยวแห่งกลุ่มธรรมอันหนึ่ง นักปราชญ์เช่นนั้นย่อมมองเห็นคนพาลเป็นผู้น่าสังเวช สงสารเหมือนผู้ยืนอยู่บนภูเขามองเห็นคนยืนอยู่ที่เชิงเขา
ธรรมะกับพระบาลี