อานิสงส์รดน้ำไม้โพธิพฤกษ์
ในกาลนั้นเราบวชอยู่ ได้ถือเอาดอกโกสุม เข้าไปบูชา แล้วเอาน้ำเข้าไปรดที่โพธิพฤกษิ์ด้วย กล่าวว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพ้นแล้ว จักทรงยังสรรพสัตว์ให้ พ้นทรงดับแล้วจักทรงยังสรรพสัตว์ให้ดับหนอ ในกัปที่ ๙๑ แต่กัปนี้ เราได้รดน้ำโพธิพฤกษ์ใด ด้วยกรรมนั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการรดน้ำไม้โพธิพฤกษ์
อานิสงส์ทำอัญชลีบูชา
เราเป็นไข้หนักนั่งอยู่ที่โคนไม้ในป่าชัฏใหญ่ เป็นผู้ควรได้รับความกรุณาอย่างยิ่ง พระศาสดาพระนามว่า ติสสะ ทรงอนุเคราะห์ เสด็จมาหาเรา เรานั้นนอนอยู่ ได้ประณมอัญชลีเหนือเศียรเกล้า เรามีจิตเลื่อมใส มีใจโสมนัส ถวายบังคมพระสัมพุทธเจ้าผู้สูงสุดกว่าสรรพสัตว์ แล้วได้ทำกาละ ณ ที่นั้น ในกัปที่ ๙๒ แต่กัปนี้ เราถวายบังคมพระพุทธเจ้าผู้อุดมบุรุษ ด้วยกรรมนั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย
ตะลึงอานิสงส์กฐิน ขอได้ทุกสิ่งบุญน่าอัศจรรย์
อำนาจบุญกุศลที่ได้ถวายผ้ากฐิน เป็นกุศลผลบุญที่ใหญ่หลวง ผู้ถวายจะปรารถนาความสำเร็จใด ๆ ในภพชาติใหม่ ก็จะให้สำเร็จได้ดังมโนรถความปรารถนา...
อานิสงส์บูชาพระรัตนตรัยด้วยรัตนชาติ
ทรัพย์เครื่องปลื้มใจอย่างใดอย่างหนึ่งในโลกนี้หรือในโลกอื่น หรือรัตนะใดอันประณีตในสวรรค์ ทรัพย์และรัตนะนั้น เสมอด้วยพระตถาคตไม่มีเลย พุทธรัตนะแม้นี้ เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย
อานิสงส์ถวายรองเท้า
เราได้ถวายรองเท้าแด่พระพุทธเจ้า พระนามว่ากกุสันธะ ผู้เป็นปราชญ์ มีบาปอันลอยแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์ ด้วยผลแห่งทานนั้น เราไม่เคยรู้จักทุคติเลย
ตำนานช้างในพระพุทธศาสนา
ในสมัยดึกดำบรรพ์นานมาแล้ว มีสระใหญ่อยู่แห่งหนึ่ง กว้างยาว 52 โยชน์ ลึกราว 12 โยชน์ สระแห่งนี้มีชื่อว่าฉัททันต์ ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของสระนี้มีต้นไทรใหญ่อยู่ด้านหนึ่ง
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๓)
วันเวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ว ทุกชีวิตย่างสู่วัยเสื่อมและวัยชรา หากเรามองย้อนไปพิจารณาการกระทำของเรามาแล้วพบว่า
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๑)
การบังเกิดขึ้นของพระรัตนตรัย นำมาซึ่งสันติสุขแก่มวลมนุษยชาติและสรรพสัตว์ทั้งหลาย เมื่อเราเข้าถึงและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพระรัตนตรัย ความ
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
“การให้” เป็นวัฒนธรรมของคนดี เป็นก้าวแรกของการสร้างบารมีไปสู่อายตนนิพพาน เราในฐานะผู้ให้ ย่อมได้รับความสุข จะเป็นที่รักของมนุษย์ และเทวดาทั้งหลาย
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
ความทุกข์เป็นสิ่งที่มาพร้อมกับการเกิดของสรรพสัตว์ทั้งหลาย ทุกชีวิตต่างปรารถนาความสุข แสวงหาความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง