เมตตาบารมี
มารดาถนอมบุตรคนเดียวผู้เกิดในตนด้วยชีวิตฉันใด บุคคลพึงเจริญเมตตา อันไม่มีประมาณในสัตว์ทั้งปวง แม้ฉันนั้น พึงเจริญเมตตาอันไม่มีประมาณในโลกทั้งปวง ทั้งเบื้องบน เบื้องล่าง เบื้องขวาง ให้เป็นผู้ไม่มีความคับแค้น ไม่มีเวร ไม่มีภัย ไม่มีศัตรูต่อกัน ผู้มีเมตตา ไม่เข้าถึงสักกายทิฏฐิ เป็นผู้มีศีล ถึงพร้อมด้วยทัสสนะ นำความหมกหมุ่นในกามทั้งหลายออกไปได้ ย่อมไม่เข้าถึงการนอนในครรภ์อีกต่อไป
ประวัติพระพุทธเจ้า ตอนที่ 1
ประวัติพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน รูปภาพพระพุทธเจ้า การประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน สรุปประวัติพระพุทธเจ้า
อาศัยมานะเพื่อละมานะ
หมู่สัตว์ประกอบด้วยมานะ มีมานะเป็นเครื่องร้อยรัด ยินดีแล้วในภพ จึงต้องเป็นผู้กลับมาสู่ภพอีก ส่วนผู้ใดอาศัยมานะละมานะได้แล้ว น้อมไปในธรรม ย่อมก้าวล่วงซึ่งกิเลสเครื่องร้อยรัดทั้งหลาย
พระเจดีย์จุฬามณี
ใครๆ ไม่อาจนับบุญของบุคคลผู้บูชาอยู่ซึ่งท่านผู้ควรบูชา คือพระพุทธเจ้าหรือพระสาวกทั้งหลาย ผู้ก้าวล่วงปปัญจธรรมเครื่องเนิ่นช้าได้แล้ว ผู้มีความเศร้าโศก และความคร่ำครวญอันข้ามพ้นแล้ว หรือว่าของบุคคลผู้บูชาอยู่ ซึ่งท่านผู้ควรบูชาเหล่านั้น ผู้นิพพานแล้ว ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ ด้วยการนับแม้วิธีใดๆ ก็ตาม ว่าบุญนี้มีประมาณเท่าใด
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา วันสำคัญของไทย ประวัติวันสำคัญ
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา วันสำคัญของไทย วันสำคัญของโลก วันสำคัญทางศาสนาพุทธ ประวัติวันสำคัญ วันสำคัญประจำปีของไทย รวมไว้แล้วที่นี่..
ออกแบบชีวิตด้วยตนเอง (๑)
นักปราชญ์ทั้งหลายกล่าวว่า ทานและการรบมีผลเสมอกัน พวกวีรบุรุษแม้มีน้อย ย่อมชนะคนขลาดที่มีพรรคพวกมากได้ ถ้าบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมอยู่ ย่อมให้สิ่งของแม้น้อยได้ เพราะฉะนั้นแล ทายกนั้นย่อมเป็นผู้มีความสุขในโลกหน้า
มนุษย์ในอุตตรกุรุทวีป
มนุษย์ชาวชมพูทวีป ย่อมประเสริฐกว่ามนุษย์ชาวอุตตรกุรุทวีปและทวยเทพชั้นดาวดึงส์ด้วยฐานะ ๓ อย่างคือ เป็นผู้มีความองอาจกล้าหาญ เป็นผู้มีสติ และเป็นผู้สามารถประพฤติพรหมจรรย์ได้บริสุทธิ์ในพระพุทธศาสนา
คุณคือคนสำคัญ
กุลบุตรผู้ใคร่ประโยชน์ พึงศึกษาบุญนั่นแล อันสูงสุดต่อไปซึ่งมีสุขเป็นกำไร คือ พึงเจริญทาน ๑ ความประพฤติสงบ ๑ เมตตาจิต ๑ บัณฑิตครั้นเจริญธรรม ๓ ประการอันเป็นเหตุเกิดแห่งความสุขเหล่านี้แล้ว ย่อมเข้าถึงโลกอันไม่มีความเบียดเบียน เป็นสุข
ควรพิจารณากิจของตน
บุคคล ไม่ควรใส่ใจคำก้าวร้าวของคนอื่น ไม่ควรมองการงานของคนอื่น ว่าเขาทำแล้วหรือยังไม่ได้ทำ ควรพิจารณาดูแต่การงานของตน ที่ทำเสร็จแล้วหรือยังไม่ได้ทำเท่านั้น
กรรมของผู้ไม่เชื่อเรื่องบุญเรื่องบาป
บุคคลทำกรรมใดแล้ว ย่อมเดือดร้อนในภายหลัง เป็นผู้มีหน้าชุ่มด้วยน้ำตา ร้องไห้เสวยผลของกรรมใดอยู่ กรรมนั้นอันบุคคลกระทำแล้วไม่ดีเลย
อานิสงส์ทำบุญถูกเนื้อนาบุญ
บุคคลควรนำสมบัติออกด้วยการให้ทาน เพราะสิ่งที่ให้แล้วได้ชื่อว่านำออกดีแล้ว ทานวัตถุที่บุคคลให้แล้วนั้น ย่อมมีสุขเป็นผล ส่วนที่ยังไม่ได้ให้ ย่อมไม่เป็นเหมือนอย่างนั้น
สละชีวิตเป็นทาน (ปรมัตถบารมี)
มนุษย์ทุกคนล้วนปรารถนาความสุข ความอบอุ่นใจ และความปลอดภัยในชีวิต ทุกคนพยายามเสาะแสวงหาที่พึ่งที่ระลึกที่แท้จริง แต่หลายชีวิตไม่อาจรู้ว่า
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 97 พระเจ้าปภาวันตจักรพรรดิราช
พระเจ้าปภาวันตะทรงกระทำการบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยการถวายรัตนะทั้งเจ็ดประการอันถือเป็นสมบัติคู่บุญของพระเจ้าจักรพรรดิ
บริจาคดวงตาเป็นทาน (อุปบารมี)
ในการเดินทางไกล เราจำเป็นจะต้องมีเสบียงติดตัวไป เพื่อหล่อเลี้ยงสังขารให้ดำรงอยู่ได้ ไม่ว่าจะเป็นการเดินทางในโลกนี้ ในโลกหน้า
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 73 อานิสงส์พิเศษ 18 ประการของพระโพธิสัตว์
ถ้าหากอานิสงส์พิเศษได้บังเกิดขึ้นกับพระโพธิสัตว์ท่านใดแล้ว พระโพธิสัตว์ท่านนั้นก็จะไม่ไปบังเกิดในฐานะที่ไม่เกื้อกูลต่อการสร้างบารมี
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 72 พุทธภูมิธรรม 4 ประการ (2)
พุทธภูมิธรรม คือ คุณลักษณะพิเศษที่เป็นเครื่องหมายบ่งบอก ถึงความเป็นผู้มุ่งมั่นปรารถนาพุทธภูมิ แต่เพียงอย่างเดียว
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๔)
ทรัพย์เครื่องปลื้มใจอย่างใดอย่างหนึ่งในโลกนี้หรือโลกอื่น หรือรัตนะใดอันประณีตในสวรรค์ ทรัพย์และรัตนะนั้นที่เสมอด้วยพระตถาคตไม่มีเลย แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจ้า
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๑)
การบังเกิดขึ้นของพระรัตนตรัย นำมาซึ่งสันติสุขแก่มวลมนุษยชาติและสรรพสัตว์ทั้งหลาย เมื่อเราเข้าถึงและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพระรัตนตรัย ความ
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะสัจจก-นิครนถ์)
คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว เป็นสิ่งที่มีค่าเอนกอนันต์ ทุกถ้อยคำที่พระพุทธองค์ทรงแนะนำสั่งสอน ชี้แนะหนทางสว่าง
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะสัจจกนิครนถ์)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นบุคคลผู้เลิศทั้งพระปัญญาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ และพระมหากรุณาธิคุณ จะหาบุคคลใดๆ ในภพทั้งสาม มาเสมอเหมือนหรือ