มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - เวลาอันทรงคุณค่ายิ่ง
มีพระราชาพระองค์หนึ่งพระนามว่า “เอสุการี” พระองค์มีปุโรหิตเป็นสหายรักตั้งแต่ครั้งยังทรงพระเยาว์ ทั้งพระราชาและปุโรหิตต่างไม่มีพระโอรสที่จะสืบสกุล วันหนึ่ง พระราชาและปุโรหิตปรึกษาหารือกันว่า ถ้าหากบุตรของใครเกิดก่อน บุตรของคนนั้นจะได้ครอบครองราชสมบัติ
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - มหาทานบารมีแห่งยุค
สมัยนั้น อังกุรเทพบุตรซึ่งเคยนั่งอยู่ด้านหน้า ต้องถอยร่น ไปตามกำลังบุญ นั่งอยู่ไกลถึง ๑๒ โยชน์ ส่วนอินทกเทพบุตรนั่งอยู่ที่เดิมใกล้ๆ กับพระพุทธองค์ พระพุทธเจ้าได้ตรัสถามอังกุรเทพบุตรว่า "อังกุระ เธอทำแถวเตาไฟยาว ๑๒ โยชน์ ได้ให้ทานเป็นอันมากในกาลประมาณหมื่นปี บัดนี้เธอนั่งอยู่ไกลตั้ง ๑๒ โยชน์ ซึ่งไกลกว่าเทพบุตรทั้งหมด ไฉนเธอจึงนั่งอยู่ไกลนัก"
เจ็บกระด้อกระเดี้ย, เจ็บล้วนๆ
ชีวิตในวัยเด็ก เขาต้องประสบอุบัติเหตุหลายครั้ง เกิดในครอบครัวเกษตรกรที่ยากจน คุณพ่อชอบดื่มเหล้า เมื่อเมาแล้วมักจะทะเลาะกับคุณแม่เป็นประจำ เมื่อทำร้ายคุณแม่ไม่ได้ก็หันมาทำร้ายลูกแทน...เมื่อได้เจอกับหมู่คณะ เส้นทางการสร้างบารมีจึงได้เริ่มขึ้น เขารับบุญที่ศูนย์การศึกษาเขาแก้วเสด็จ ตั้งแต่ยุคบุกเบิกจนถึงปัจจุบัน...ที่เขาแก้วเสด็จแห่งนี้ ในทุกวันพระขึ้น 15ค่ำ จะมีหลายคนเห็นดวงไฟกลมๆ สว่างๆ ลอยไปลอยมา อันเป็นที่มาของชื่อ “เขาแก้วเสด็จ”
มงคลที่ ๑๑ บำรุงบิดามารดา - พญาช้างโพธิสัตว์
ความมืดมิดที่ปกคลุมดวงจิตของคนอกตัญญู มืดยิ่งกว่ากลางคืนที่ไร้แสงจันทร์ เพราะ ยามราตรีแม้ไม่มีแสงจันทร์ ก็ยังมีแสงจากดวงดาว แสงหิ่งห้อย แต่ถ้าเป็นคนอกตัญญูจิตใจมืดบอดแล้ว แม้แสงสว่างแห่งความดีทั้งหลายก็ไม่อาจส่องเข้าไปในจิตใจเขาได้ เขาจะมองไม่เห็นคุณความดีของใครเลย เหมือนเรื่องของนายพรานใจบาป
มงคลที่ ๘ มีศิลปะ - แก้ปัญญาหาด้วยปัญญาอันลึกซึ้ง (๔)
มาถึงตอนนี้พระโพธิสัตว์ได้ตัดสินคดีความเละตรัสตอบคำถามที่นายคามณิจันท์รับปาก เขามาถามทั้งหมดไม่่ว่าจะเป็นเรื่องของพราหมณ์มาณพกลุ่มหนึ่งที่เรียนมนต์ได้ไม่ดี เรื่องที่น้ำในสระของพญานาคขุ่น เรื่องของนกกระทาที่ไม่ยอมไปจากจอมปลวก เรื่องของเนื้อที่ชอบกินหญ้าใต้ต้นไม้นั้น เรื่องของงู และเรื่องอื่นๆ พระโพธิืสัตว์จะทรงตัดสินคดีความและตอบคำถามเช่นไรนั้น
มงคลที่ ๘ มีศิลปะ - แก้ปัญญาหาด้วยปัญญาอันลึกซึ้ง (๓)
พระราชาจึงตรัสถามนายคามณิจันท์ว่า "แล้วความจริงมันเป็นอย่างไรล่ะ ท่านจงเล่ามาซิ" เขาได้เล่าเรื่องราว ทั้งหมดไปตามความเป็นจริง ตั้งแต่ที่ยืมโคไปแล้ว จนเอามาส่งคืน แต่ยังไม่ได้บอกเจ้าของเพราะเจ้าของโคกับภรรยากำลังทานข้าวอยู่ และเจ้าของก็เห็นแล้วว่า โคเข้าบ้านไปแล้ว แต่ตอนที่โคหายไปนั้น หายไปตอนกลางคืน ซึ่งไม่รู้ว่าใครขโมยไป ส่วนพระราชาจะตัดสินอย่างไรนั้น
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - รอดชีวิตเพราะพหูสูต
เมื่อครั้งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรา เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ปุโรหิต ชื่อว่า เสนกบัณฑิต ผู้มีปัญญามาก ในตอนนี้ท่านได้ช่วยพราหมณ์ชราให้พ้นภัยจากงูร้ายที่เข้าไปอยู่นอนกินข้าวสตุก้อน ข้าวสตุผง อยู่ในไถ้ของพราหมณ์ ด้วยปัญญาอันชาญฉลาด เหตุการณ์ทั้งหมดจะเป็นอย่างไรนั้น
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - ในดีไม่มีเสียในเสียมีดี
การมองให้เห็นคุณค่าในทุกสิ่ง การรู้จักเลือกเอาแต่สิ่งที่ดี ที่มีประโยชน์จากสิ่งต่างๆ ออกมาใช้ จึงเป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่สำคัญมาก และก็ต้องศึกษาธรรมชาติของทุกสิ่งให้กระจ่างแจ้ง จนสามารถสร้างสรรค์ทุกสิ่งได้อย่างเหมาะสม เพราะแม้ขยะเขายังเปลี่ยนมาเป็นปุ๋ยได้
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - ผู้ชี้หนทางสว่าง
เรื่องมีอยู่ว่า พระเจ้าพรหมทัต ท่านหลงผิด ไปติดใจในการเสวยเนื้อมนุษย์ จึงทำบาปกรรมจนถูกเนรเทศออกไปจากเมือง พระองค์ได้ไปอาศัยอยู่ใต้ต้นไทรในป่า เปลี่ยนชื่อเป็น โจรโปริสาท คอยดักฆ่าคนที่เดินทางผ่านมา แล้วเอาเนื้อมากิน จนข่าวนี้ลือกันไปทั่วชมพูทวีป
เจ็บกะด้อกะเดี้ย