พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก โครงการพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย มุ่งมั่นสำรวจ รวบรวมคัมภีร์ใบลานจากทั้ง 4 สายจารีตหลัก คือ คัมภีร์ใบลานอักษรสิงหล อักษรพม่า อักษรขอม และอักษรธัมม์ (ล้านนา, อีสาน) และศึกษาค้นคว้าคัมภีร์ใบลานดังกล่าวตามหลักวิชาคัมภีร์โบราณ แล้วจัดทำพระไตรปิฎกฉบับวิชาการขึ้น
คัมภีร์ใบลาน "ผ้าห่อถักทอด้วยศรัทธา"
หนังสือใบลานเป็นเอกสารโบราณที่ใช้จดจารคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเรื่องราวทางพระพุทธศาสนาอันศักดิ์สิทธิ์ ความสำคัญของหนังสือใบลานในประเทศไทยมีมาพร้อม ๆ กับการยอมรับนับถือพระพุทธศาสนา คนไทยโบราณจึงมักเรียกหนังสือโบราณนี้ว่า “คัมภีร์ใบลาน” คติการสร้างคัมภีร์ใบลานในหมู่พุทธศาสนิกชนนับแต่อดีตจนถึงปัจจุบันเชื่อว่าจะได้อานิสงส์อันยิ่งใหญ่จะนับจะประมาณมิได้ ด้วยเหตุนี้จึงมีธรรมเนียมนิยมสร้างคัมภีร์ใบลานถวายไว้กับพระศาสนามากมาย
ธรรมกาย กายแห่งการตรัสรู้ธรรม
ธรรมกาย คือ กายแห่งการตรัสรู้ธรรม คำว่า “ธรรมกาย” มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง พุทธรัตนะ คือ ธรรมกาย ธรรมรัตนะ คือ ธรรมทั้งหลายที่กลั่นจากหัวใจธรรมกาย สังฆรัตนะ คือ ดวงจิตของธรรมกาย
วิธีการดำเนินชีวิตแบบอริยะ
นรชนเมื่อคำนึงถึงเหตุนี้ว่า เราได้ใช้จ่ายโภคทรัพย์เลี้ยงตนแล้ว ได้ใช้จ่ายโภคทรัพย์เลี้ยงคนที่ควรเลี้ยงแล้ว ได้ผ่านพ้นภัยที่เกิดขึ้นแล้ว ได้ให้ทักษิณาอันมีผลอันเลิศแล้ว ได้ทำพลีกรรม ๕ ประการแล้ว และได้บำรุงท่านผู้มีศีล สำรวมอินทรีย์ ประพฤติพรหมจรรย์แล้ว บัณฑิตผู้อยู่ครองเรือน พึงปรารถนาโภคทรัพย์เพื่อประโยชน์ใด ประโยชน์นั้นเราก็ได้บรรลุแล้ว เราได้ทำสิ่งที่ไม่ต้องเดือดร้อนแล้ว ชื่อว่าเป็นผู้ดำรงอยู่ในธรรมของพระอริยเจ้า
โครงการตักบาตรพระ 6 แห่ง ย่านธุรกิจใจกลางกรุงเทพ
การทำบุญตักบาตรต่อพระภิกษุสามเณร สาวกแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นอริยประเพณีสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลจน ถึงปัจจุบัน
บรรยากาศ พิธีลงนามบันทึกความเข้าใจทางวิชาการ ระหว่างวัดพระธรรมกาย กับ 3 สถาบันชั้นนำของโลก
ณ วันนี้ นับเป็นก้าวแรกของความร่วมมือครั้งสำคัญ เพื่อไปให้ถึงคำสอนอันแท้จริงของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งเป็นหนทางแห่งสันติสุขภายใน
ตักบาตรพระ 12,500 รูป จังหวัดเชียงใหม่
พิธีตักบาตรพระ 12,500 รูป จังหวัดเชียงใหม่ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 28 พ.ย.53 หนึ่งในโครงการตักบาตรพระหนึ่งล้านรูป 76 จังหวัดทุกวัดทั่วไทย
การดำรงอยู่ได้นานแห่งพระสัทธรรม (๒)
ในโลกที่เราอาศัยอยู่นี้ ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ เหตุการณ์ หรือเรื่องราวต่างๆ ล้วนมีทั้งแง่ดีและแง่ไม่ดีสลับกันไป การมองโลกในแง่ดี และเรียน
เจริญสังฆานุสติ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระสงฆ์
เจริญธัมมานุสติ
พระธรรม อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมนั้น