พบเขตทะเลมรณะแพร่กระจายทั่วโลก
แมงลาย-ด้วงน้ำมัน เปิบมรณะ แกล้มเหล้าดับสยอง
ชีวิตที่ไม่สมดุล 14 ประการ เสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็ง
พฤติกรรมที่ควรหลีกเลี่ยง(ไลฟ์สไตล์มรณะ)14 ประการ ถ้าคุณเลิกได้จะมีสุขภาพที่ดี
เส้นทางจอมปราชญ์ (๗)
โลกถูกมัจจุแผดเผา และถูกชรารุมล้อม ไม่มีสิ่งใดต้านทานได้ ย่อมเดือดร้อนอยู่เป็นนิตย์ เหมือนคนกระทำความผิดได้รับอาชญาเดือดร้อนอยู่ฉะนั้น
สรรพสัตว์ถูกส่งไปเป็นทอดๆ
นางวิสาขาถามหญิง 500 นั้นว่า "พวกท่านเป็นผู้รักษาอุโบสถ เพื่ออะไร?" หญ้งแก่บอกว่า
การตาย 4 ประเภท เหตุให้เกิดความตาย 4 ประการ
เหตุให้ความตายเกิดมี 4 ประการ การตายมีด้วยกัน 4 ประเภท สิ้นอายุ สิ้นกรรม สิ้นทั้งสอง กรรมตัดรอน ตายแล้วไปไหนจะรู้ได้อย่างไร เลือกได้อย่างไร
ความตายคืออะไร ประเภทของความตาย เหตุเกิดขึ้นของความตาย
ความตายเป็นเพียงจุดสิ้นสุดของชีวิตในภพภูมิหนึ่งๆ เท่านั้น และความตายนี้ย่อมเป็นสิ่งที่น่ากลัวและไม่น่าปรารถนาของสรรพสัตว์ แต่ไม่ว่าเราจะปรารถนาหรือไม่ก็ตามเราทุกคนล้วนแต่ต้องตาย แต่ตายแล้วจะไปไหน
ปัญจาวุธกุมาร-ชาดกว่าด้วยการทำความเพียร
ขณะเมื่อพระพุทธศาสดาประทับในมหาวิหารทรงแจ้งในพระญาณว่า ยังมีภิกษุเกียจคร้านอาศัยครองเพศสมณะไปวัน ๆ ทรงตักเตือนด้วยพุทธโอวาทว่า “ดูก่อนภิกษุ แม้ในกาลก่อนบัณฑิตทั้งหลายกระทำความเพียร ในที่ที่ควรประกอบความเพียร ก็ยังบรรลุถึงราชสมบัติได้” ทรงระลึกชาติของพระองค์ด้วยชาดกเรื่องหนึ่งส่งเสริมพุทธโอวาทเกี่ยวกับความเพียรนั้น
หลวงปู่มาตาม
พื่อนของกัลยาณมิตรพรทิพย์ บุญสงเคราะห์ (ตุ๊กลูกพระธัมฯ) ได้เห็นภาพ Buddha ลอยอยู่เหนือมหาธรรมกายเจดีย์ในวันงานมาฆบูชา ทั้งที่ไม่เคยเห็นภาพในลักษณะดังกล่าวมาก่อน และไม่เคยมาวัดพระธรรมกายเลย วันนี้ก็มีเรื่องราวที่น่าอัศจรรย์ใจ
มตกภัตตชาดก ชาดกว่าด้วยสัตว์ไม่ควรฆ่าสัตว์
“เหล่าพราหมณ์เอ๋ย ถ้าสัตว์ทั้งหลายพึงรู้อย่างนี้ว่า ความเกิดมี ของชาติภพนั้น เป็นทุกข์เช่นนี้ สัตว์จึงไม่ควรฆ่าสัตว์ เพราะผู้มีปกติข้าสัตว์ ย่อมได้รับความเศร้าโศก ด้วยต้องเสวยมหันตทุกข์ตลอดกาลนาน เหล่าพราหมณ์เอ๋ย ผู้ทำสัตว์อื่นให้เจริญ ย่อมได้ความเจริญในชาติสมภพ เมื่อเบียดเบียนสัตว์อื่นย่อมได้รับการเบียดเบียนเช่นกัน ดังนี้จึงไม่ควรฆ่าสัตว์อื่น อีกอย่างหนึ่ง ทุกท่านล้วนได้เห็นแล้วว่า แพะนี้เศร้าโศกแล้วเพราะมรณะภัยฉันใด ผู้มีปกติฆ่าสัตว์ ย่อมเศร้าโศกตลอดกาลนานฉันนั้น ดังนี้แล้วไม่ว่าผู้ใดก็ตาม จึงไม่ควรกระทำกรรมคือ ปานาติบาต ไม่ควรฆ่าสัตว์ด้วยเหตุผลดังนี้”