โครงการสานฝัน เติมไฟ รวมใจยอดครูผู้นำบุญ
ชมรมพุทธศาสตร์สากล ในอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ได้จัดสัมมนาปฏิบัติธรรม "สานฝัน เติมไฟ รวมใจยอดครูผู้นำบุญ" ขึ้น
ความแตกต่างของการศึกษาในอดีตและปัจจุบัน
วัดเป็นที่รวมสรรพวิชา การเรียนการสอนในสมัยก่อนเป็นการฝึก การอ่านออก เขียนได้ จับประเด็นได้ เรียนรู้พื้นฐานคณิตศาสตร์ บวก ลบ คูณ หาร การคัดลายมือ ศิลปะเฉพาะด้านเช่นช่างฝีมือ ช่างแกะสลัก
อินเดีย อบรมอุบาสกอุบาสิกาแก้วครั้งแรก
นับเป็นความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ สำหรับการบวชอุบาสกอุบาสิกาแก้วครั้งแรก ณ ดินแดนพุทธภูมิ
รัศมีธรรมแผ่ไปทุกที่ที่มีพระธุดงค์
ธุดงค์ธรรมชัย พระธรรมทายาท รุ่นกองพลแสนรูป
สัมมนานโยบาย 3D and V-Star
การรวมพลังของผู้ใหญ่ใจดีเครือข่ายองค์กร ภาคีผู้นำฟื้นฟูศีลธรรมโลกในครั้งนี้ มีมาอย่างตลอดต่อเนื่องตั้งแต่โครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลกครั้งที่ 1 จนมาถึงครั้งนี้มีเพิ่มมากขึ้นเป็น 24 องค์กรภาคีแล้ว อาทิ กระทรวงศึกษาธิการ , กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ , สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน , สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ,
ตักบาตรพระ จังหวัดสุโขทัย
ทางด้าน นางอนงค์วรรณ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประธานฝ่ายฆราวาส ท่านปลื้มปีติใจในงานวันนี้เป็นอย่างมาก และท่านยังเชิญชวนให้คนไทยทั่วทั้งประเทศ ไม่ว่าจะเป็นจังหวัดไหนก็ตาม ให้จัดกิจกรรมดีๆแบบนี้ และช่วยกันอธิษฐานจิต ให้ปัญหาต่างๆในภาคใต้ยุติลงอย่างรวดเร็ว
ตักบาตรพระ สโมสรทหารเรือ
การแสดงตนเป็นพุทธมามกะนั้นเป็นสิ่งที่สำคัญมากๆ เพราะคนเราจะไม่มีอะไรเป็นที่ยึดเหนี่ยวนั้นไม่ได้ ต้องมีที่ยึดเหนี่ยว และในฐานะที่เราเป็นชาวพุทธ เราต้องมีพระรัตนตรัยเป็นที่ยึดเหนี่ยว ถ้าเรามีพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์อยู่ในใจแล้ว เราก็จะไม่ทำความชั่วทั้ง ทางกาย ทางวาจา และทางใจ เราก็จะมีชีวิตที่เจริญในชาตินี้และชาติหน้า
งานตักบาตรพระ จังหวัดลพบุรี
พระใน 4จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นพระนักต่อสู้ ท่านอยู่เพื่อนยืนหยัดตามหลักคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยไม่เกรงกลัวภัยใดๆ แต่ท่านอยู่อย่างขาดแคลนปัจจัยสี่ เราจึงได้พร้อมใจกันมาใส่บาตรในวันนี้ เพื่อจะยืนยันว่า ศาสนาพุทธในผืนแผ่นดินไทยของเรายังมั่นคงอยู่ได้ตลอดไป และเพื่อให้พุทธบุตรทุกรูป 4จังหวัดชายแดนภาคใต้ 266วัดได้รับทราบว่า ท่านไม่โดดเดี่ยวเดียวดาย
วันออกพรรษาของชาวเชียงตุง
ประเพณีชาวพุทธที่สำคัญ และทำกันในวันนี้ทั่วทั้งเวียงเชียงตุง ในวันออกพรรษา คือ ประเพณีสัมมาคารวะผู้เฒ่า-ผู้แก่ ลูกหลานจะมาวัด มาสัมมาคารวะผู้เฒ่า-ผู้แก่ทุกคนที่มาวัด แม้ว่าจะไม่ใช่ญาติของตนก็ตาม โดยจะนำเทียน ดอกไม้ ของกิน ของใช้ ยารักษาโรค หรืออาจจะใส่เงินไว้ในพานด้วยก็ได้ (แล้วแต่ความพร้อมของแต่ละคน) ใช้เป็นสิ่งแทนในการสัมมาคารวะ และจะท่องบทสวดมนต์เป็นภาษาบาลี