อานิสงส์ของการทำจิตผ่องใส
เมื่อจิตไม่เศร้าหมอง สุคติเป็นที่ไป เมื่อจิตเศร้าหมอง ทุคติเป็นที่ไป
อานิสงส์ถวายมหาวิหารทาน
เหตุที่ต้องมายืนตากฝนอย่างนี้ ก็เพราะไม่เคยได้ทำบุญสร้างศาลาวิหารถวายวัดเลย อย่างกระนั้นเลยเราพึงสร้างมหาวิหารถวายไว้ในพระพุทธศาสนา
หริตมาตชาดก-ชาดกว่าด้วยผู้มีอิสรภาพ
ณ แคว้นโกศล พระเจ้ามหาโกศลได้พระราชทานพระธิดาผู้มีสิริโฉมงดงามให้กับพระเจ้าพิมพิสาร อีกทั้งยังได้ประทานหมู่บ้านกาสีเป็นข้าทรงสนานแก่พระราชธิดาด้วย ทั้งสองพระองค์ครองรักกันอย่างมีความสุข
กากาติชาดก-ชาดกว่าด้วยนางกากี
ในพุทธกาลสมัย ครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้วนั้น พระพุทธองค์มีพระประสงค์จะปักฐานพระพุทธศาสนาให้มั่นคง จึงได้เสด็จจาริกออกเผยแผ่พระธรรม โปรดแก่เหล่าสรรพสัตว์ทั้งหลายยังดินแดนน้อยใหญ่ชมพูทวีป
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๖)
การทำทาน รักษาศีลและเจริญภาวนา เป็นพื้นฐานแห่งความสุขที่แท้จริง ทานที่ให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ
มานพหนุ่มผู้ได้ผ้าทิพย์จากต้นกัลปพฤกษ์ ตอนที่ 2
พระราชเทวีทรงกราบทูลว่า “ข้าแต่พระสวามี ชมพูทวีปนั้นหาได้ว่างจากพระอรหันต์ไม่"
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (6)
บุคคลผู้มีปัญญา ถึงจะสิ้นทรัพย์ ก็ยังมีชีวิตอยู่ได้ ส่วนบุคคลผู้ไม่มีปัญญา ถึงจะมีทรัพย์ แต่ก็ไม่อาจเป็นอยู่ได้ ปัญญาเป็นเครื่องตัดสินสิ่งที่ตนได้ฟังมา เป็นเครื่องเจริญชื่อเสียงและความสรรเสริญ นรชนในโลกนี้ ผู้ประกอบด้วยปัญญา แม้ในเวลาที่ตนตกทุกข์ ก็ย่อมได้รับความสุข
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 200
ในจำนวนอำมาตย์ที่รับใช้อยู่ในราชสำนักของฉัพภิพราหมณ์นั้น ยังมีอำมาตย์ผู้ใหญ่ท่านหนึ่ง ซึ่งยังมีความจงรักภักดีต่อราชวงศ์กษัตริย์จุลนีเสมอมาอย่างไม่มีวันเสื่อมคลาย ยิ่งได้เห็นการกระทำของฉัพภิพราหมณ์ที่พยายามเกลี้ยกล่อมบรรดาข้าราชบริพารทั้งหลายให้หันมาภักดีต่อตนด้วยการเอาทรัพย์เข้าล่อ ก็ยิ่งโหมกระพือความรู้สึกอยากจะแก้แค้นฉัพภิพราหมณ์ให้เพิ่มมากขึ้น จึงได้คอยหาทางกำจัดฉัพภิพราหมณ์ผู้ทรยศตลอดมา
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 199
นับแต่นั้นมา เจ้าหญิงนันทาก็ทรงเป็นที่โปรดปรานของเจ้าชายจุลนีตลอดเรื่อยมา แม้เจ้าชายจุลนีจะเสด็จกลับไปครองบัลลังก์แห่งปัญจาลนครแล้วก็ตาม พระนางก็ยังคงติดตามพระสวามีดุจดังพระฉายาที่ไม่อาจพรากจากกัน และเพราะเหตุนี้เอง พระแม่เภรีจึงได้ทูลถามพระเจ้าจุลนีว่า “พระนางนันทาเทวีทรงมีโทษอะไร เหตุใดพระองค์จึงทรงคิดจะประทานพระนางให้แก่ผีเสื้อน้ำเป็นลำดับที่สอง”
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 196
พระมารดาจึงได้ส่งขนมและน้ำอ้อยให้แก่พระกุมารเสวย ขณะนั้นหมู่แมลงวันได้กลิ่นน้ำอ้อย ก็พากันบินมาตอมพระกุมาร จุลนีราชกุมารทรงดำริว่า “เราจักเคี้ยวกินขนมนี้โดยไม่ให้มีแมลงวัน” ครั้นแล้วจึงทรงเลี่ยงไปหน่อยหนึ่ง แล้วหยดน้ำอ้อยลงสู่พื้น พร้อมกับค่อยๆไล่แมลงที่ห้อมล้อมพระองค์อยู่ แมลงวันเหล่านั้นแทนที่จะรุมตอมพระกุมาร ก็พากันไปรุมตอมน้ำอ้อยที่พื้นแทน