ความสุข สุขที่ควรกลัวและไม่ควรกลัว
กามคุณนี้มี 5 อย่าง คือ รูปที่รู้ได้ด้วยจักษุอันน่าปราถนา น่าใคร่ น่าพอใจ เป็นที่รัก ประกอบด้วยกาม เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด เป็นที่รู้ได้ด้วยโสต... กลิ่นที่รู้ได้ด้วยฆานะ... รสที่รู้ได้ด้วยชิวหา... โผฏฐัพพะที่รู้ได้ด้วยกาย อันน่าปราถนา น่าใคร่ น่าพอใจ
ทำไมชาวโลกจึงเรียกเราว่าตถาคต
ตถาคตย่อมกล่าว ย่อมแสดงซึ่งสิ่งใดในระหว่างนี้ สิ่งนั้นทั้งหมดย่อมเป็นอย่างนั้นทีเดียว ย่อมไม่เป็นอย่างอื่น เพราะฉะนั้นชาวโลกจึงเรียกว่า ตถาคต
อานิสงส์สรรเสริญพระพุทธเจ้า
เทวลดาบสได้ประกาศถึงพระคุณอันหาประมาณมิได้ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า “พระองค์เป็นผู้เลิศที่สุดในโลก พระพุทธเจ้าทั้งหลายผู้มีพระจักษุ มียศใหญ่ ท่านทั้งหลายได้พบแล้วในบทมนต์ของเรามิใช่หรือ เรานมัสการพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด มียศใหญ่เหล่านั้น”
การพิสูจน์ปรโลก ปรโลกมีจริงหรือไม่ ตอนที่ 2
พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งความรู้ เป็นศาสนาที่เกิดจากการตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ธรรมะที่พระองค์ตรัสรู้นั้นเป็นสัจธรรม ได้แก่ อริยสัจ 4 ซึ่งเป็นความจริงอย่างแท้จริง ดังนั้นพระพุทธศาสนาจึงเป็นศาสนาแห่งความจริง พระพุทธองค์ทรงประกาศสัจธรรมที่ตรัสรู้นั้นแก่ชาวโลก เพื่อให้ชาวโลกได้รู้ความจริง
พระปิยทัสสีพุทธเจ้า (๒)
ทุกชีวิตล้วนมีการแสวงหา บ้างแสวงหาปัจจัยสี่เพื่อใช้ในการดำรงชีวิต บ้างแสวงหาทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ซึ่งเป็นโลกียทรัพย์ภายนอก แต่จะมีใคร
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๖ ชนะสัจจกนิครนถ์)
ความสุขหรือความทุกข์ที่ทุกคนได้รับในปัจจุบันชาติ ล้วนเป็นผลมาจากกรรมที่ได้ทำไว้ในอดีตชาติ ผู้ที่สามารถอธิบายเรื่องนี้ได้ดี มีเพียงพระสัมมาสัมพระพุทธเจ้า พระอรหันต์ และผู้มีรู้มีญาณเท่านั้น
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๓ ชนะสัจจกนิครนถ์)
พื้นฐานชีวิตของมนุษย์ทุกคน ล้วนมีความทุกข์กันทั้งนั้น ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งถึงบัดนี้ เราต้องพบกับความทุกข์ และส่วนใหญ่ยังไม่เคยพบความสุขที่แท้จริง
พระสังฆคุณ
สุปฏิปนฺฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ยทิทํ จตฺตาริ ปุริสยุคานิ อฏฺฐ ปุริสปุคฺคลา เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ อาหุเนยฺโย ปาหุเนยฺโย ทกฺขิเณยฺโย อญฺชลีกรณีโย อนุตฺตรํ ปุญฺญกฺเขตฺตํ โลกสฺส
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 6 ชนะสัจจกนิครนถ์)
อาสวะเหล่าใดที่ทำให้เศร้าหมอง ให้เกิดภพใหม่ มีวิบากเป็นทุกข์ ให้มีชาติ ชรา มรณะต่อไป บุคคลใดยังละไม่ได้ นั่นแหละเป็นคนหลง แต่ถ้าละกิเลสเหล่านั้นได้แล้ว นับว่าเป็นผู้ตื่นอยู่ทุกเมื่อ
ชัยชนะครั้งที่ 6 (ตอนที่ 3 ชนะสัจจกนิครนถ์)
พระพุทธเจ้าผู้เป็นพระธรรมราชา ผู้ส่องแสงสว่างไสว ยังไม่เสด็จอุบัติขึ้น เพียงใด ชนทั้งหลายก็พากันบูชาสมณพราหมณ์เหล่าอื่นอยู่เป็นอันมาก เพียงนั้น แต่เมื่อใด พระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้มีพระสุรเสียงอันไพเราะ ได้ทรงแสดงธรรมแล้ว เมื่อนั้น ลาภและสักการะของพวกเดียรถีย์ก็เสื่อมไป