พระภัททกาปิลานี เกิดในตระกูลดีแต่มีกลิ่นตัวแรง
ทองคำเป็นวัตถุธาตุที่มนุษย์ทุกยุคสมัยยอมรับว่าสูงค่า สาธุชนผู้ใจบุญจึงนิยมนำทองคำมาเป็นเครื่องสักการะบูชาแด่บุคคลที่ควรบูชา เช่นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระสงฆ์สาวก ดังหลักฐานที่มีในพระไตรปิฎก
โทษของคนมักโกรธ
คนโกรธมีผิวพรรณทราม ย่อมนอนเป็นทุกข์ ถือเอาสิ่งที่เป็นประโยชน์แล้ว กลับปฏิบัติสิ่งอันไม่เป็นประโยชน์ ทำปาณาติบาตด้วยกาย และวาจา ย่อมถึงความเสื่อมทรัพย์ ผู้มัวเมาเพราะความโกรธ ย่อมถึงความไม่มียศ ญาติมิตรและสหาย ย่อมเว้นคนโกรธเสียห่างไกล คนผู้โกรธย่อมไม่รู้จักความเจริญ ทำจิตให้กำเริบ ภัยที่เกิดมาจากภายในนั้น คนผู้โกรธย่อมไม่รู้สึก คนโกรธย่อมไม่รู้อรรถ ไม่เห็นธรรม ความโกรธย่อมครอบงำนรชนในขณะใด ความมืดตื้อย่อมมีในขณะนั้น คนผู้โกรธย่อมก่อกรรมที่ทำได้ยากเหมือนทำได้ง่าย ภายหลังเมื่อหายโกรธแล้ว เขาย่อมเดือดร้อนเหมือนถูกไฟไหม้
อานิสงส์โปรยกลีบกุหลาบ (ภาคพิเศษ) ตอนที่ 13
ในขณะที่เรืออับปางและกำลังจะจมลงสู่มหาสมุทรในอีกไม่กี่นาทีนั้นสังขะพราหมณ์พระโพธิสัตว์กับบริวารคนสนิทก็ได้เตรียมตัวก่อนที่จะกระโดดลงสู่มหาสมุทรด้วยการเอาน้ำมันมาทาตัว
อานิสงส์โปรยกลีบกุหลาบ (ภาคพิเศษ) ตอนที่ 12
และที่พิเศษยิ่งไปกว่านั้น ก็คือ เมื่อกำลังบุญในตัวของลูกมีปริมาณที่หนาแน่นมากเข้า มากเข้า จนกระทั่งมีปริมาณมากพอที่จะส่งผลได้อย่างเต็มที่เต็มกำลัง
เปรตงูยักษ์และเปรตกาดำ
จริงอยู่ บาปกรรมที่บุคคลทำแล้วย่อมไม่สูญหายไป เหมือนน้ำนม ที่รีดในขณะนั้นคงไม่แปรไป แต่บาปกรรมนั้นจะต้องติดตามเผาคนพาล เหมือนไฟที่ถูกเถ้าปกปิดเอาไว้
สัญลักษณ์สากล
ในโลกที่ไร้พรมแดนเช่นนี้ ภาษาที่เป็นสากลนั้น จำเป็นอย่างยิ่งในการสื่อสาร แต่บางครั้งตัวภาษาเอง ความสามารถในเรื่องภาษา ไม่ว่าจะเป็นการเขียน การพูด การฟัง เป็นกำแพงในการสื่อสารเสียเอง ดังนั้นจึงเกิดสัญลักษณ์ต่างๆขึ้นมามากมาย เป็นสากล ให้คนแม้อ่านหนังสือไม่ออก ก็เข้าใจ เช่นเราเห็นสัญลักษณ์ ห้องน้ำ ก็เข้าใจแล้ว หรือว่าสัญลักษณ์ ป้ายจราจรต่างๆ การที่เราสื่อสารด้วยสัญลักษณ์อย่างนี้จึงเป็นเรื่องที่จำเป็นมากขึ้นทุกวัน แต่เรื่องราวจะเป็นอย่างไรนั้นมาติดตามชมกันเลยค่ะ
บุพกรรมของพระพุทธเจ้าตอนที่ ๓
หมู่สัตว์ที่มาเกิดแล้วจำจะต้องตายในโลกนี้ ย่อมทำกรรมอันใดไว้ คือบุญและบาปทั้งสองประการ บุญและบาปนั้นแล เป็นสมบัติของเขา และเขาจะพาเอาบุญและบาปนั้นไป อนึ่ง บุญและบาปนั้นย่อมเป็นของติดตามเขาไปประดุจเงาติดตามตัวไปฉะนั้น เพราะฉะนั้น บุคคลพึงทำกัลยาณกรรม สะสมไว้เป็นสมบัติในปรโลก ด้วยว่า บุญทั้งหลายย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายในปรโลก
สิ่งที่บรรพบุรุษรอคอย
ความวิบัติอันเป็นโทษทางกาย ๓ ประการคือ การฆ่า การลัก การประพฤติผิดในกาม และโทษทางวาจา ๔ ประการคือ พูดโกหก หยาบคาย ส่อเสียด เพ้อเจ้อ และโทษทางใจ ๓ ประการคือ อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ ย่อมมีวิบากเป็นทุกข์
บุพกรรมของพระพุทธเจ้าตอนที่ ๒
ดูก่อนมาณพ สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้
บุพกรรมของพระพุทธเจ้าตอนที่ ๑
บุคคลที่ทำกรรมชั่วไว้ ถึงจะหนีไปทางอากาศ ก็พ้นจากกรรมชั่วไปไม่ได้ หนีไปในท่ามกลางมหาสมุทร ก็พ้นจากกรรมชั่วไปไม่ได้ หนีเข้าไปในซอกเขาก็ไม่พ้นจากกรรมชั่วไปได้ บุคคลอยู่ในส่วนแห่งภาคพื้นใดพึงพ้นจากบาปกรรม ส่วนแห่งภาคพื้นนั้น ย่อมไม่มี