หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
พิธีมุทิตาสักการะเปรียญธรรมประโยค 9, 6, 3 และบาลีศึกษา 9, 6 สำนักเรียนวัดพระธรรมกาย
พุทธศาสนิกชน แสดงความยินดี จัดมุทิตาสักการะเปรียญธรรมประโยค 9,6,3 และบาลีศึกษา 9,6 สำนักเรียนวัดพระธรรมกาย
อกาลราวิชาดก ชาดกว่าด้วยไก่ขันไม่ถูกเวลา
ในสมัยพุทธกาลเมื่อครั้งที่พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภภิกษุผู้ท่องบ่นไม่เป็นเวลารูปหนึ่ง คราวนั้นมีภิกษุบวชใหม่เป็นกุลบุตรชาวพระนครสาวัตถี บรรพชาในพระศาสนาแล้ว มีความมุ่งมั่นที่จะ...
พิธีตักบาตรฉลองพระใหม่และพิธีตักบาตรรวมใจธรรมทายาทหญิงรุ่นที่ 33
โครงการอุปสมบทหมู่ธรรมทายาทพุทธศาสตร์สากลรุ่นที่ 2 จัดพิธีตักบาตรฉลองพระใหม่และรวมใจธรรมทายาทหญิงรุ่นที่ 33 ณ บริเวณข้างบ้านแก้วเรือนทองคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง วัดพระธรรมกาย
อนุรักษ์คัมภีร์ใบลานไทยรักษาไว้ให้แผ่นดิน
นับแต่การตรัสรู้ธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แสงแห่งธรรมของพระบรมศาสดาเป็นประดุจแสงสว่างส่องนำทางชีวิตให้แก่ชาวโลกตลอดมา ภายหลังพุทธปรินิพพาน พระอรหันต์ ๕๐๐ รูป ทำสังคายนาเพื่อเรียบเรียงพระธรรมวินัยและทรงจำสืบทอดต่อ ๆ กันมาด้วยการท่องจำเรียกว่า “มุขปาฐะ”
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน
เล่าเรื่องคุณยายฯ ตอน แม้คุณยายฯละสังขารแล้วก็ช่วยได้
หลวงพ่อคะ เมื่อก่อนลูกไม่ยอมมาวัดพระธรรมกายเลยค่ะ แม้น้องสาวทั้ง2 คน จะชวนลูกเข้าวัดนี้อย่างไร ลูกก็ยังไม่ยอมเข้าอยู่ดีแม้เขาจะพยายามเล่าถึงเรื่องความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงปู่ฯ หลวงพ่อฯ คุณยายฯ ...
ประกาศผลสอบบาลี 28 มี.ค. 2559 ชมถ่ายทอดสด ทั่วโลก !! ทางช่อง DMC
“ทางวัดพระธรรมกาย ได้รับสนองงานการคณะสงฆ์ด้วยการถ่ายทอดสดประกาศผลสอบบาลี ซึ่งปีนี้ถ่ายทอดสด ทางช่อง DMC เป็นปีที่ 12 แล้ว โดยเห็นว่าเป็นการส่งเสริมการศึกษาของการคณะสงฆ์ไทย และเป็นการรักษาภาษาบาลีให้คู่กับคณะสงฆ์ไทย และพระพุทธศาสนาตลอดไป
อานิสงส์บูชาพระเจดีย์ทุกวัน
การบูชามี ๒ อย่าง ได้แก่ อามิสบูชาและปฏิบัติบูชา อามิสบูชา คือ การบูชาด้วยวัตถุสิ่งของ มีดอกไม้ ธูปเทียน เครื่องหอมอาหารหวานคาว และน้ำ เป็นต้น
รองรับพระธรรม น้อมนำถวาย
พระไตรปิฎกบาลีหรือพระบาลีเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในยุคแรกคำสอนของพระองค์เรียกโดยรวมว่าพระธรรมวินัย ต่อมาในภายหลังจึงแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๓ หมวด คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก