วิธีทำตนให้คนอื่นรัก
ชนย่อมกระทำบุคคล ผู้สมบูรณ์ด้วยศีลและทัสสนะ ผู้ตั้งอยู่ในธรรม ผู้พูดคำจริงเป็นปกติ ผู้ทำงานอันเป็นหน้าที่ของตน ให้เป็นที่รัก
เส้นทางจอมปราชญ์ (๑๐)
บุคคลจะนั่งในท่ามกลางอากาศ ในท่ามกลางมหาสมุทร เข้าไประหว่างซอกของภูเขาทั้งหลาย ก็ไม่พ้นประเทศคือแผ่นดิน ที่ความตายไม่พึงครอบงำผู้สถิตอยู่ ย่อมไม่มี
จุดจบของผู้ก่อเวร
ในกาลไหนๆ เวรย่อมไม่ระงับด้วยการจองเวร เวรทั้งหลายย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร นั่นเป็นธรรมเก่า
โทษของการว่าร้ายผู้อื่น
พูดแต่วาจาสุภาษิต ซึ่งพระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ถ้าอารยชนใคร่จะพูด ก็เป็นผู้ฉลาด รู้จักกาล พูดแต่ถ้อยคำที่ประกอบด้วยเหตุผลที่อารยชนประพฤติกัน ไม่พูดด้วยความโกรธ ไม่ยกตัว มีใจสงบ ไม่ตีเสมอ ไม่ก้าวร้าว ไม่พูดเอาหน้า รู้ชอบแล้วจึงกล่าว ถ้าเขาพูดดีพูดถูกก็อนุโมทนา เมื่อคนอื่นพูดผิด ก็ไม่รุกราน เขาพูดพลั้งไปบ้างก็ไม่ถือสาหาความ ไม่พูดพล่าม ไม่พูดเหยียบย่ำคนอื่น การพูดของสัตบุรุษ เป็นการพูดเพื่อให้เกิดความรู้ประเทืองปัญญา อารยชนมีปกติสนทนากันอย่างนี้
โทษของการวางเพลิง
กรรมที่บุคคลไม่ใคร่ครวญแล้วทำลงไป ไม่ตั้งสติไว้ให้ดี เหมือนความวิบัติของยา ย่อมเป็นผลชั่วร้าย กรรมที่ใคร่ครวญก่อนแล้วจึงทำ กำหนดความคิดไว้อย่างถูกต้อง เหมือนสมบัติของยา ย่อมเป็นผลเจริญ
อานิสงส์แห่งการจุดประทีป
ผู้ใดจุดประทีปถวายคราวที่ควรจุดประทีปในเวลาคํ่าคืน อันเป็นอุปกรณ์กำจัดความมืดให้เป็นทาน วิมานอันมีรัศมีโชติช่วง มีสวนงดงามมาก มีบุณฑริกบัวขาวมาก ย่อมเกิดแก่ผู้นั้น
อานิสงส์สร้างหอฉัน
เราได้ให้คนไปบอกกับนายช่างไม้ ให้ทรัพย์แล้ว จ้างให้ทำศาลาโรงฉัน ด้วยบุญนั้นเราอยู่ในเทวโลกตลอด ๘ กัปโดย ในกัปที่เหลือเราท่องเที่ยวไปในสุคติภูมิ ความบริบูรณ์ในโภคทรัพย์สมบัติย่อมเกิดกับเรา ยาพิษย่อมไม่กลํ้ากรายในกายเรา และศาสตราไม่กระทบกายเรา เราไม่เคยตายในน้ำ นี้เป็นผลแห่งการสร้างศาลาโรงฉัน
ความงดงามของพรหมภูมิ ตอนที่ 2 : ระดับชั้นของรูปพรหม
ในบรรดารูปพรหมทั้งหลายยังมีการแบ่งระดับชั้นตามภูมิที่อยู่ ซึ่งมีทั้งหมด 16 ชั้น มีหลักการแบ่งชั้น คือ แบ่งตามระดับความแก่อ่อนของกำลังฌาน
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๓ (สนังกุมารพรหม)
ชาวโลกนี้ เป็นผู้มืดบอด มีน้อยคนที่เห็นแจ้งในโลกนี้ น้อยคนที่จะไปสู่สุคติโลกสวรรค์ เหมือนนกน้อยตัวที่รอดพ้นจากตาข่ายมีน้อยฉันนั้น
สละชีวิตเป็นทาน(ปรมัตถบารมี)
หากว่าปราชญ์พึงเห็นแก่สุขอันไพบูลย์ เพราะยอมเสียสละสุขส่วนน้อย เมื่อผู้มีปัญญาเล็งเห็นสุขอันไพบูลย์แล้ว ก็ควรสละสุขส่วนน้อยเสีย