ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 5
พระราชบิดาของเรา ทำบาปกรรมใหญ่หลวงนัก คงไม่พ้นจากการเสวยทุกข์ในนรกเป็นแน่ หากปล่อยให้เป็นไปอย่างนี้ ต่อไปในภายหน้า แม้เราเองก็จะต้องตัดสินคดีความดุจเดียวกับพระราชบิดา
บุพกรรมของป้าโต้
กายมนุษย์ ฐานทัพแห่งการสร้างบารมี
ร่างกายของเรานี้มีไว้สร้างบารมีแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น ไม่มีรูปกายใดจะประเสริฐเหมาะสมกับการสร้างบารมีได้เท่ากับกายมนุษย์อีกแล้ว การได้เกิดเป็นมนุษย์นั้นเป็นสิ่งที่ยากมาก ดังนั้นอย่าใช้ร่างกายมนุษย์นี้ไปทำบาปกรรมใดๆ เลย
ยมโลก และเทวโลก
ยมโลก คือ ดินแดนหนึ่งซึ่งตามศาสนาพุทธเชื่อกันว่าผู้ทำบาปจะต้องไปเกิดและถูกลงโทษตามคำพิพากษาของมัจจุราช มีชื่อเรียกหลายชื่อ เช่น นิรยะ ยมโลก มฤตยูโลก ฯลฯ เทวโลก คือ โลกของเทวดา หมายถึงสวรรค์อันเป็นที่อยู่ของเทวดา
จะเป็นอย่างไร เมื่อตายแล้ว ตอนที่ 4
การทำบาปในปัจจุบัน แม้ไม่เป็นประจำ แต่จะกลายเป็นวิบากกรรมหลักที่ไปดึงดูดเศษกรรมในทำนองเดียวกันในภพชาติก่อนๆให้มาส่งผล
ฆ่าหั่นศพ
เรื่องของคนที่ผูกเวรกันมา ผลัดกันฆ่ากันตายมาแล้วหลายชาติ เจอกันเมื่อใด ฆ่ากันเมื่อนั้น ...วิญญาณที่ไม่มีบุญพอจะไปเกิด และหวงแหนในสมบัติ จึงต้องวนเวียนเฝ้าสมบัตินั้น ...สมบัติ ถ้าเป็นของเรา อย่างไรเสีย ก็ต้องเป็นของเรา ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปนานเท่าใด ...ชีวิตหลังความตาย ของคนที่ชอบทำบุญ กับคนที่ชอบทำบาป...อานิสงส์ของการถวายการนวด จับเส้น พระ-เณร...
บรรยากาศชวนบวชสามเณรภาคฤดูร้อน จ.ชัยภูมิ
พระอาจารย์จากศูนย์ปฏิบัติธรรมพระพุทธมงคลแก้ว พร้อมด้วยผู้นำบุญชวนบวชจังหวัดชัยภูมิ ได้ลงพื้นที่ตามโรงเรียนต่างๆ ในจังหวัดชัยภูมิ เพื่อเชิญชวนน้องๆ เข้าร่วมโครงการบรรพชาสามเณร ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาทั่วไทย 5,000 รูป ประจำปีพุทธศักราช 2568
โรงเรียนวัดผึ่งแดด (บุญสืบวิชชนูปถัมภ์) จัดอบรมศีลธรรมแก่นักเรียน
คณะสงฆ์ศูนย์อบรมเยาวชนบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ให้การอบรมศีลธรรมแก่นักเรียนโรงเรียนวัดผึ่งแดด (บุญสืบวิชชนูปถัมภ์) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ศูนย์ปฏิบัติธรรมภูเก็ต จัดพิธีบุพเปตพลี
ศูนย์ปฏิบัติธรรมภูเก็ต ได้จัดพิธีบุพเปตพลี เพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้แก่หมู่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว
วันมาฆบูชา 2568 ประวัติความสำคัญ กิจกรรมวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ปีนี้ตรงกับวันพุธที่ 12 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2568 วันมาฆบูชาเป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนา เพราะมีเหตุการณ์พิเศษที่มาบรรจบกัน 4 ประการ หรือที่เรารู้จักกันดีว่า "จาตุรงคสันนิบาต"