มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - พระทัพพมัลลบุตร (๒)
ท่านพระทัพพมัลลบุตร ถึงแม้ว่าจะบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ เสร็จกิจของการประพฤติพรหมจรรย์แล้ว ท่านยังมีความเสียสละ รับเป็นธุระในกิจการงาน ของสงฆ์ เป็นการกระทำที่น่ายกย่อง และเป็นแบบอย่างในการสร้างบารมี
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ก่อเวรเพราะวาทกรรม
ในโลกนี้ สิ่งที่จะบั่นทอนกำลังใจของคนเราได้มากคือคำพูด คำพูดที่ตัดกำลังใจหรือกดใจผู้ฟังให้ต่ำลง ทำให้ผู้ฟังรู้สึกระคายหู ก่อให้เกิดความไม่พอใจความขุ่นมัวโกรธเคือง และยังเป็นวาทกรรมที่ก่อเวร ทำให้ผูกพยาบาทจองเวรกันอีกด้วย ซึ่งการผูกโกรธผูกพยาบาท จะทำให้ใจกระสับกระส่ายไม่เป็นสมาธิ นอกจากนี้หน้าตาก็ยังเศร้าหมองไม่ผ่องใส ไม่น่าเข้าใกล้ ใครๆ ต่างถอยห่างไม่อยากจะคบหาสมาคมด้วย
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 36
อาจารย์เสนกะและสหายปุโรหิต เมื่อได้ทราบข่าวด่วนจากพนักงานกรมวังว่า พระราชาทรงเสด็จกลับมาแล้ว ทั้งที่ยังไปไม่ถึงปาจีนยวมัชฌคาม ก็ยิ่งบังเกิดความฉงนใจ ใคร่จะรู้ว่ามีเหตุการณ์อันใดเกิดขึ้น ท้าวเธอถึงได้เสด็จกลับมาเร็วนัก แต่ในขณะเดียวกันก็พากันดีอกดีใจอยู่ที่ไม่น้อย ที่อย่างน้อยๆ ก็มีเหตุให้สามารถประวิงเวลาพระองค์ไว้ได้อีกชั่วระยะหนึ่ง อาจารย์เสนกะก็นึกกระหยิ่มใจว่า “คราวนี้เป็นทีของเราบ้างละ” จึงได้คิดหาเหตุผลเพื่อสนับสนุนสิ่งที่ตนทูลไว้ในครั้งก่อน
ถามฟ้าหารัก
ชายคนหนึ่ง...เมื่อเขามีโอกาสได้บวช ก็ซาบซึ้งในพระธรรม อยากจะใช้ชีวิตสมณะเรื่อยไป แต่เพราะภาวะทางเศรษฐกิจ ทำให้กิจการของครอบครัวต้องประสบภาวะขาดทุน เป็นหนี้สินมากมาย ทำให้ต้องลาสิกขา...เขาตั้งหน้าตั้งตาทำงาน จนสามารถใช้หนี้ได้หมด และยังมีเงินก้อนใหญ่เหลือเก็บ แต่เขากลับคิดว่า ตนเองโชคร้าย เพราะเขาอยากจะอยู่ในเพศสมณะมากกว่า
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ไม่ควรดูหมิ่นบุญ
ขึ้นชื่อว่าบุญ อันใครๆ ไม่ควรดูหมิ่นว่าเล็กน้อย บุคคลถวายทานแด่พระภิกษุสงฆ์ โดยมีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขแล้ว ไม่ควรดูหมิ่นบุญว่าเล็กน้อย เพราะว่าบุคคลผู้ฉลาดในการทำบุญ ย่อมเต็มเปี่ยมไปด้วยบุญโดยลำดับ เปรียบเหมือนภาชนะที่เปิดฝา ย่อมเต็มไปด้วยน้ำ ฉะนั้น
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 28
ชาวบ้านปาจีนยวมัชฌคามได้อาศัยวิธีหุงต้มตามที่ มโหสถแนะนำ ในที่สุดก็สามารถช่วยกันหุงข้าวเปรี้ยวขึ้นมาได้สำเร็จตามพระราชประสงค์ ข้าวเปรี้ยวนั้นได้ถึงพร้อมด้วยองค์ ๘ ประการครบถ้วนบริบูรณ์ นั่นคือ ข้อ ๑ ในเมื่อไม่ให้หุงด้วยข้าวสาร ท่านสิริวัฒกะก็ให้จัดการหุงด้วยข้าวป่น และปลายข้าวที่ตำแหลกละเอียดแล้ว จึงไม่ชื่อว่าข้าวสาร
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 27
ท่ามกลางมหาชนที่มารอรับฟังกันอย่างคับคั่ง “เรา..พระเจ้าวิเทหราช ปรารถนาจะเสวยข้าวเปรี้ยวรสเลิศ ที่หุงด้วยวิธีพิเศษ คือถึงพร้อมด้วยองค์ ๘ อันได้แก่๑.ไม่ให้หุงด้วยข้าวสาร ๒.ไม่ให้หุงด้วยน้ำปกติ ๓.ไม่ให้หุงด้วยหม้อข้าว ๔.ไม่ให้หุงด้วยเตาหุงข้าว ๕.ไม่ให้หุงด้วยไฟปกติ ๖.ไม่ให้หุงด้วยฟืน ๗.ไม่ให้หญิงหรือชายเป็นผู้ยกมา ๘.ไม่ให้นำมาตามทางเดิน
มงคลที่ ๘ มีศิลปะ - แก้ปัญญาหาด้วยปัญญาอันลึกซึ้ง (๓)
พระราชาจึงตรัสถามนายคามณิจันท์ว่า "แล้วความจริงมันเป็นอย่างไรล่ะ ท่านจงเล่ามาซิ" เขาได้เล่าเรื่องราว ทั้งหมดไปตามความเป็นจริง ตั้งแต่ที่ยืมโคไปแล้ว จนเอามาส่งคืน แต่ยังไม่ได้บอกเจ้าของเพราะเจ้าของโคกับภรรยากำลังทานข้าวอยู่ และเจ้าของก็เห็นแล้วว่า โคเข้าบ้านไปแล้ว แต่ตอนที่โคหายไปนั้น หายไปตอนกลางคืน ซึ่งไม่รู้ว่าใครขโมยไป ส่วนพระราชาจะตัดสินอย่างไรนั้น
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 14
เมื่อนายโคฬกาฬนึกถึงภรรยาสุดที่รักที่กำลังถูกชิงตัวไป จึงรีบวิ่งลงไปในน้ำไปได้หน่อยหนึ่งก็กลับขึ้นมาอีกเพราะความกลัว ครั้นรวบรวมความกล้าได้อีกครั้ง ก็รีบวิ่งลงไปในแม่น้ำอีกหนด้วยความโกรธ กระโจนลงไปด้วยปลงใจว่าจะเป็นหรือตายก็ช่างเถิด ขอเพียงให้ได้ภรรยาคืนมา เหตุการณ์จะเป็นอย่างไรต่อนั้น...
วันวิสาขบูชา ตอน วันตรัสรู้
วันวิสาขบูชา Vesak Day ตอน วันตรัสรู้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลายอกบุรุษเมื่ออุบัติขึ้นในโลกย่อมอุบัติเพื่อเกื้อกูลแก่ชนเป็นอันมากเพื่อความสุขของมหาชนเพื่ออนุเคราะห์โลกเพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายเอกบุรุษ คือ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า