สุขอื่นยิ่งกว่าการทำใจหยุดนิ่ง ไม่มี
ทุกชีวิตสามารถมีความสุขได้ เปลี่ยนแปลงได้ และเข้าถึงธรรมะได้ เพียงแค่หลับตาเบาๆ วางใจไว้ที่ศูนย์กลางกาย
เหล่ากอสมณะ ต้นบุญต้นแบบของชาวโลก
เรา คือ ผู้มีบุญผู้ได้โอกาส เป็นบัณฑิตนักปราชญ์ตั้งแต่เยาว์วัย บวชเป็นสามเณร ศึกษาธรรมวินัย ยึดมั่นพระรัตนตรัยไปสู่ทางนิพพาน
ตั้งใจมุ่งมั่น บวชสองชั้นวันวิสาขบูชา
ชีวิตสมณะ คือ ชีวิตที่ไม่ต้องห่วงกังวลอะไรเลย มีเพียงอาหารวันละสองมื้อ ไตรจีวรสำหรับนุ่งห่มเท่านั้น
ผลการปฏิบัติธรรม สามเณรเตรียมบวชอุทิศชีวิต
องค์พระหมุนอยู่กลางท้องเรื่อยๆ แล้วท่านก็ค่อยขยายร่างออกไปเบาๆ เหมือนกับเวลาที่โยนก้อนหินลงน้ำ และผิวน้ำก็ค่อยๆขยายออกไปเบาๆ
ชัยชนะครั้งที่ ๘ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๑ ชนะพกาพรหม)
นักสร้างบารมีต้องมีใจจรดจ่ออยู่กับการสร้างบารมี ไม่ใช่ส่งใจไปในเรื่องอื่นที่ไม่เป็นสาระ อันเป็นเหตุให้อาสวกิเลสเข้ามาอยู่ในใจ ต้องคิดตลอดเวลาว่า ทำอย่างไรบารมีของเราจึงจะเต็มเปี่ยมบริบูรณ์
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
“การให้” เป็นวัฒนธรรมของคนดี เป็นก้าวแรกของการสร้างบารมีไปสู่อายตนนิพพาน เราในฐานะผู้ให้ ย่อมได้รับความสุข จะเป็นที่รักของมนุษย์ และเทวดาทั้งหลาย
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
ความทุกข์เป็นสิ่งที่มาพร้อมกับการเกิดของสรรพสัตว์ทั้งหลาย ทุกชีวิตต่างปรารถนาความสุข แสวงหาความหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวง
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๖ ชนะสัจจกนิครนถ์)
ความสุขหรือความทุกข์ที่ทุกคนได้รับในปัจจุบันชาติ ล้วนเป็นผลมาจากกรรมที่ได้ทำไว้ในอดีตชาติ ผู้ที่สามารถอธิบายเรื่องนี้ได้ดี มีเพียงพระสัมมาสัมพระพุทธเจ้า พระอรหันต์ และผู้มีรู้มีญาณเท่านั้น
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๕ ชนะสัจจกนิครนถ์)
การฝึกฝนใจให้หยุดนิ่ง เป็นสิ่งสำคัญสำหรับชีวิตของเราทุกคน เพราะชีวิตของผู้มีใจหยุดดีแล้ว เป็นชีวิตที่ประเสริฐ มีพลัง มีความบริสุทธิ์ มีอานุภาพที่จะทำความดี เอาชนะความชั่ว
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า(ตอนที่ ๔ ชนะสัจจกนิครนถ์)
ความเห็นถูกจะเป็นต้นทางของความคิดถูก ซึ่งจะทำให้ความคิดก็เริ่มมีระบบระเบียบแบบแผนที่ดี มีความคิดในทางสร้างสรรค์ คิดที่จะพ้นทุกข์และให้พบสุขที่แท้จริง