หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว...ก้าวสู่รัตนโกสินทร์ตอนกลาง
แผ่นดินสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลางเริ่มในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๔ แห่งราชวงศ์จักรี เป็นยุคที่สยามเปิดประเทศสู่อารยธรรมตะวันตกและเจริญสัมพันธไมตรีกับนานาชาติ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยทั้งทางตรงและทางอ้อม
พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ยุคทองแห่งต้นกรุงรัตนโกสินทร์
แผ่นดินที่ ๓ ของกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ไทยในราชวงศ์จักรีถือเป็นยุคทองแห่งต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ในรัชสมัยของพระองค์พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองเป็นอันมาก เนื่องด้วยทรงมีพระราชศรัทธาอย่างมั่นคงในพระพุทธศาสนาทรงรักษาศีล บำเพ็ญทาน บำรุงคณะสงฆ์ สร้างและปฏิสังขรณ์พระอารามไว้เป็นจำนวนมาก
พระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร)
ประวัติ พระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร เจริญพานิช ป.ธ. ๔) เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร
เทศกาลเข้าพรรษา
เป็นช่วงเวลา 3 เดือน ที่พระภิกษุสงฆ์จะพักอยู่ประจำ ณ ที่ใดที่หนึ่ง โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น เรียกว่า "จำพรรษา" ตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
ปักหมุดจุดหมาย ของประเทศไทย
ปักหมุดจุดหมาย พระบรมมหาราชวัง เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนครกรุงเทพมหานคร เป็นที่ตั้งของปราสาทราชมณเฑียรทั้งสถาปัตยกรรมไทยและตะวันตก ตำหนักต่างๆ ปัจจุบันใช้เป็นสถานที่ประกอบพระราชพิธีสำคัญต่างๆ
วัฒนธรรมและประเพณี ของชาวไทย
วัฒนธรรมและประเพณี ศิลปกรรมไทยเป็นศิลปะที่มีความประณีตสวยงาม แสดงออกถึงความเป็นไทยที่มีความอ่อนโยน และสร้างสรรค์สืบต่อกันมาตั้งแต่อดีต จนได้ศิลปะประจำชาติที่มีลักษณะและรูปแบบเฉพาะ ส่วนใหญ่จะบอกเล่าเรื่องราว สิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่แบบไทยตั้งแต่ครั้งเก่าก่อน สะท้อนให้เห็นความเชื่อทางพระพุทธศาสนา สวยงามอ่อนช้อย และมีเรื่องราวกึ่งลึกกลับมหัศจรรย์
วัดเกาะพญาเจ่ง
วัดเกาะพญาเจ่งได้รับการบูรณะตั้งแต่ครั้งสมัยรัชกาลที่ ๓ ในสมัยที่บุตรหลานท่านเป็นเจ้าเมืองนครเขิ่นขัน แต่เดิมวัดนี้มีชื่อว่า"วัดเกาะบางพูด"และเพื่อเป็นก่ีรำลึกถึงบรรพบุรุษจึงได้ขอเปลี่ยนชื่อเป็น"วัดเกาะพญาเจ่ง"
ธุดงค์ธรรมชัย ตอน ก้าวย่างสู่การฟื้นฟูพระศาสนา
ธุดงค์ธรรมชัยของพุทธบุตรผู้กล้า กว่า 250 รูป พัฒนาวัดพุน้ำเปรี้ยวพุทธาราม ซึ่งอยู่ใน ต.ด่านแม่แฉลบ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี น่าประทับใจเพียงใดมาติดตามกันค่ะ
สิบสองปันนาดินแดนแห่งพระพุทธศาสนา
ชาวสิบสองปันนาทั้งหมดเป็นข้าของพระพุทธศาสนา เรามีศีล มีธรรม ก็เพราะคำสอนของพระพุทธเจ้า หลังจากพระพุทธศาสนาหายไป คนไม่ได้นับถือศาสนา มากว่า 20 ปี