วิธีดูว่าวัดพระธรรมกายบิดเบือนคำสอนหรือเปล่า ?
ช่วงที่วัดเป็นข่าวก็มีกระแสโจมตีอย่างเอาเป็นเอาตายว่า วัดพระธรรมกายบิดเบือนคำสอน ซึ่งหากบิดเบือนจริงก็ดูได้ไม่ยากเลย แค่เอาเรื่องนั้นไปเปรียบเทียบกับพระไตรปิฎก เช่น วัดพระธรรมกายพูดถึงคำว่า “ดุสิตบุรี” ก็มีคนโจมตีและมีคนหลงเชื่อกันแบบไม่ลืมหูลืมตาว่า คำนี้ไม่มีในพระไตรปิฎกแต่พอมาค้นในพระไตรปิฎกจริง ๆ ปรากฏว่าคำว่า “ดุสิตบุรี” อยู่หลายแห่ง
อานิสงส์ถวายทานบ่อยๆ
“ดูก่อนเทพธิดาผู้มีกายอันประดับประดาแล้ว สวมทิพย์มาลัย ทรงพัสตราภรณ์อันสวยงาม วิมานตั่งแก้วไพฑูรย์ของท่านโอฬาร รวดเร็วดังใจ ไปได้ตามใจปรารถนาส่องแสงประกายดังสายฟ้าแลบลอดหลืบเมฆ เพราะบุญอะไร ท่านจึงมีวรรณะเช่นนี้โภคะทุกอย่างที่น่าปรารถนาจึงเกิดขึ้นแก่ท่าน”
ไวยาวัจจมัย : ร่วมด้วยช่วยกัน สุขสันต์ตลอดไป
ไวยาวัจจะ แปลว่า การขวนขวายช่วยทำในสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น ต่อส่วนรวมด้วยความสุจริตใจ การขวนขวายช่วยเหลือคนอื่น เมื่อเห็นเขากำลังสั่งสมบุญ หรือกำลังต้องการความช่วยเหลือ โดยไม่นิ่งดูดาย ไม่ดูเบา ไม่เห็นแก่ตัวถือว่าเป็นบุญพิเศษอีกอย่างหนึ่ง
พุทธชิโนรส (๑)
ขอทานที่ข้าพเจ้าถวายดีแล้ว จงนำไปสู่พระนิพพานอันสูญสิ้นกิเลสอาสวะ
100 คำสอน สมเด็จพระสังฆราช
100 คำสอนของสมเด็จพระสังฆราช เป็นคำสอนที่ใช้ภาษาเรียบง่าย และงดงาม ชวนให้น้อมนำเข้ามาสู่จิตใจ 100 คำสอนที่รวบรวมมาแต่ละคำสอนเป็นข้อความสั้น ๆ ว่าด้วย ชีวิต, คน, คนดี, กรรม, ความสุข, ความดี, เมตตา และชัยชนะ
ทำความดีต้องมีกุศโลบาย
โอหนอ ทานนี้เป็นทานอันเลิศ เราได้ถวายไว้ดีแล้วในพระกัสสปเถรเจ้า
จงฉลาดในการใช้ทรัพย์
สัตบุรุษผู้ครอบครองทรัพย์ ย่อมเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่ชนเป็นอันมาก เทวดาย่อมรักษาเขาผู้อันธรรมคุ้มครองแล้ว เป็นพหูสูต สมบูรณ์ด้วยศีล และความประพฤติ เกียรติย่อมไม่ละผู้ตั้งอยู่ในธรรม ใครจะสามารถติเตียนผู้ตั้งอยู่ในธรรม สมบูรณ์ด้วยศีล มีวาจาสัจ มีหิริในใจ เปรียบเหมือนแท่งทองชมพูนุท แม้เทวดาก็ชื่นชม แม้พรหมก็สรรเสริญ
บุญเท่านั้นที่ปรารถนา
บัณฑิตทั้งหลาย สรรเสริญความไม่ประมาทในการสั่งสมบุญ เพราะผู้ไม่ประมาทย่อมยึดเอาประโยชน์ทั้งสองไว้ได้ คือประโยชน์ในปัจจุบันนี้และประโยชน์ในสัมปรายภพ
ท้าวสักกะจอมเทพ
ท้าวสักกจอมเทพในชั้นดาวดึงส์นั้น กระทำบุญกิริยาวัตถุที่สำเร็จด้วยทานเป็นอดิเรก ทำบุญกิริยาวัตถุที่สำเร็จด้วยศีลเป็นอดิเรก ย่อมก้าวล่วงพวกเทวดาชั้นดาวดึงส์โดยฐานะ ๑๐ ประการ คือ อายุทิพย์ วรรณะทิพย์ สุขทิพย์ ยศทิพย์ อธิปไตยทิพย์ รูปทิพย์ เสียงทิพย์ กลิ่นทิพย์ รสทิพย์ และโผฏฐัพพทิพย์