กล้าสู้อุปสรรค
ภาษิตจีนกล่าวว่า “หนทางหมื่นลี้ เริ่มต้นที่ก้าวแรก” ก้าวแรกจึงเป็นก้าวที่ยิ่งใหญ่ เพราะทำให้มีก้าวที่สอง ก้าวที่สามตามมา จนถึงก้าวสุดท้ายบนเส้นชัย
ความสำคัญของวันอาสาฬหบูชา
‘วันอาสาฬหบูชา’ เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นวันที่พระพุทธเจ้าได้ทรงประกาศพระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรก ตรงกับวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘
กับดัก comfort zone
อยู่ตรงนี้แล้วปลอดภัย ไม่อยากเสี่ยง คอมฟอร์ทโซนคืออะไร เหมือนกบในกะลาหรือไม่
คำชี้แจงจากวัดพระธรรมกาย 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 เวลา 14.00 น.
ขัลลฏิยชาดกว่าด้วยความหลงผิดลุ่มหลงในอบายมุข
ขัลลฏิยชาดก เป็นเรื่องความหลงผิดของสตรีนางหนึ่ง ซึ่งนางหลงประกอบมิจฉาชีพและทำจนคุ้นชิน ความสำนึกในบาปบุญคุณโทษก็หมดสิ้นไป เมื่อได้มาในสิ่งที่ต้องการ ก็ยิ่งหลงทำผิด ทำบาปเพิ่มมากยิ่งขึ้น จนเป็นเหตให้นางไปเกิดเป็นนางเวมานิกเปรต
พกชาดก-ชาดกว่าด้วยบาปกรรมของผู้ฉลาดแกมโกง
พระเชตะวันมหาวิหาร ณ เวลาในพุทธกาลสมัยหนึ่งยังมีพระภิกษุผู้มีศิลปะในการตัดเย็บ ย้อมสี ปะ ชุนจีวร ฝีมือดีจนเป็นที่ยอมรับในหมู่สงฆ์ ภิกษุรูปนี้ชาญฉลาดในการทำจีวรให้งาม ภิกษุสงฆ์ทั้งหลายพากันขนานนามตามความหมายนั้นว่า พระจีวรวัฒฑกะ
สูตรสำเร็จ สมการใจ
ในวันที่ห้า ผมวางใจนิ่งไว้ตรงตำแหน่งที่ผมรู้จักแล้ว ขณะนิ่งไปสัก 3-4นาที ผมเห็นองค์พระแก้วใสสูงหนึ่งคืบที่กลางท้อง สว่างเป็นรัศมีแผ่ออกมาโดยรอบองค์ ผมเอิบอิ่มใจ จนอยากถ่ายทอดให้ทุกคนทราบเป็นสมการใจที่ว่า ใจหยุดใจนิ่ง + ทำใจเฉยๆสบายๆ = เข้าถึงพระธรรมกาย คือ สมการใจของคนรุ่นใหม่
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๖ ( ลี้ภัยการเมือง )
วันหนึ่ง เสนกะได้แอบปรึกษาหารือกับปุกกุสะ กามินทะ และเทวินทะ ว่าทำอย่างไรจึงจะกำจัดมโหสถได้ มิเช่นนั้นพวกตน ก็จะเหมือนวัวแก่ที่ไม่มีค่าแก่การเทียมเกวียน เสนกะได้ออกอุบายด้วยการแอบไปลักขโมยพระจุฬามณีของพระราชา ให้ท่านปุกกุสะไปขโมยสุวรรณมาลา...
สอง สี่ เท่ากับ สี่ สี่
ลูกได้หาทางออกให้กับชีวิตโดยการ “คิดฆ่าตัวตาย” และสิ่งที่ช่วยชีวิตลูกไว้ได้ทุกครั้ง นั่นก็คือ คำสอนของคุณครูไม่ใหญ่ ที่พูดว่า..การฆ่าตัวตายมันเป็นบาปมาก และหลังจากตายไปแล้ว ต้องไปชดใช้กรรมอย่างทรมานยาวนานกว่านี้อีกหลายเท่านัก
ชนวัว ไม่กลัวอบาย แม้ยังไม่ตาย แต่ฉันจะทำยังไงดี
อุทาหรณ์สำหรับคนที่ชอบ ชนวัว ตีไก่ กัดปลา …หากยังไม่เลิก เมื่อละโลกไปแล้ว จะเป็นอย่างไร …และกับคำถาม วิบากกรรมของการชนวัว จะรุนแรงมากกว่าการชนไก่อย่างไรหรือไม่ การใช้สัตว์ใหญ่หรือสัตว์เล็กมาชนกัน จะรับวิบากกรรมต่างกันอย่างไร