โรหนมิคชาดก ชาดกว่าด้วยความรักในสายเลือด
เมื่อหัวหน้าฝูงติดบ่วงพราน บริวารก็หนีกันกระเจิดกระเจิงไปจนหมด แต่น้องสองตัวของกวางขนทองหาได้หนีไปอย่างกวางตัวอื่น ๆ ไม่ มันกลับเข้ามาคลอเคลียกวางขนทองผู้เป็นพี่ โดยเฉพาะกวางน้องตัวผู้ซึ่งยังดูเยาว์วัย แต่จิตใจเสียสละน่าชมเชยยิ่งนัก ภาพน้องยืนปกป้องพี่ โดยมีน้องสาวคอยให้กำลังใจ ภาพที่เห็นนี้ทำให้นายพรานเปลี่ยนใจ พรานหนุ่มซาบซึ้งกับความรักความสามัคคีของพี่น้องสามตัวนี้ยิ่งนัก
โรมชาดก ชาดกว่าด้วยว่าด้วยอาชีวกเจ้าเล่ห์
ในพุทธกาลสมัยนั้น มีเรื่องราวหลากหลายเกิดขึ้น และมีผลกรรมเกี่ยวต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาต่างกรรมต่างวาระกัน การแตกแยกของหมู่สงฆ์อันเป็นเรื่องสำคัญยิ่งที่เกิดขึ้นในแคว้นมคธ ซึ่งนับเป็นกรรม เป็นวิบากกรรมของพระเทวทัตที่ตามจองเวรต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
เป็นใหญ่ด้วยธรรม
ผู้ปกครองหมู่คณะ ถึงจะมีกำลังอำนาจ แต่ถ้าเป็นคนโง่เขลา ก็เอาดีไม่ได้ ผู้ปกครองหมู่คณะ ถ้าเป็นคนฉลาด และมีกำลัง จึงจะได้ผลดี
บุรพกรรมของพระพุทธองค์ # 2
ในกาลก่อน เราได้ฆ่าพี่น้องชายต่างมารดา เพราะเหตุแห่งทรัพย์ จับใส่ลงในซอกเขาและบด (ทับ) ด้วยหิน
ทุกข์ในอเวจีมหานรก
ความดี คนดีทำได้ง่าย แต่คนชั่วทำได้ยาก ความชั่ว คนชั่วทำได้ง่าย แต่คนดีทำได้ยาก
บุพกรรมของพระพุทธเจ้าตอนที่ ๓
หมู่สัตว์ที่มาเกิดแล้วจำจะต้องตายในโลกนี้ ย่อมทำกรรมอันใดไว้ คือบุญและบาปทั้งสองประการ บุญและบาปนั้นแล เป็นสมบัติของเขา และเขาจะพาเอาบุญและบาปนั้นไป อนึ่ง บุญและบาปนั้นย่อมเป็นของติดตามเขาไปประดุจเงาติดตามตัวไปฉะนั้น เพราะฉะนั้น บุคคลพึงทำกัลยาณกรรม สะสมไว้เป็นสมบัติในปรโลก ด้วยว่า บุญทั้งหลายย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลายในปรโลก
บุพกรรมของพระพุทธเจ้าตอนที่ ๑
บุคคลที่ทำกรรมชั่วไว้ ถึงจะหนีไปทางอากาศ ก็พ้นจากกรรมชั่วไปไม่ได้ หนีไปในท่ามกลางมหาสมุทร ก็พ้นจากกรรมชั่วไปไม่ได้ หนีเข้าไปในซอกเขาก็ไม่พ้นจากกรรมชั่วไปได้ บุคคลอยู่ในส่วนแห่งภาคพื้นใดพึงพ้นจากบาปกรรม ส่วนแห่งภาคพื้นนั้น ย่อมไม่มี
คาถาต่างๆ มีกำเนิดมาอย่างไรใครเป็นผู้แต่ง
คาถาต่างๆ เช่นชัยมงคลคาถา คาถาชินบัญชร มีกำเนิดมาอย่างไร ใครเป็นผู้แต่งคาถาเหล่านี้
ชัยชนะครั้งที่ ๓ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอน ชนะช้างนาฬาคีรี)
การจะหลุดพ้นจากกิเลสอาสวะ จะต้องลงมือปฏิบัติธรรมเท่านั้น จะสวดมนต์อ้อนวอนอย่างไร ย่อมไม่อาจบรรลุธรรมได้ แม้จะมีความ